https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
50 โรคซื่อ (บื้อ) ของหัวหน้างาน : โรคที่ 9 โรคทำตัวไร้ตัวตน MUSLIMTHAIPOST

 

50 โรคซื่อ (บื้อ) ของหัวหน้างาน : โรคที่ 9 โรคทำตัวไร้ตัวตน


590 ผู้ชม


50 โรคซื่อ (บื้อ) ของหัวหน้างาน : โรคที่ 9 โรคทำตัวไร้ตัวตน




สาเหตุ
คุณฉวยโอกาสจากการมีลูกน้องเก่งๆ อยู่ในแผนกเต็มไปหมดก็เลยปล่อยให้พวกเขาทำงานกันตามใจชอบ คุณไม่เคยสนใจว่าใครกำลังทำ Project อะไรอยู่ แถมยังทักทายลูกน้องนับครั้งได้ (1 ครั้ง!!!) ทำไมน่ะเหรอ? ก็คุณจำหน้าพวกเขาไม่ได้น่ะสิ
อาการที่เกิดและจะเกิดขึ้นต่อไป
- คุณจะเบื่องานมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะคุณไม่มีส่วนร่วมในงานของแผนกจริงๆ เลยสักอย่าง (อยู่มาได้ไงเนี่ย!!!)
- คุณไม่ได้ตระหนักถึงความสามารถของลูกน้องในแผนกเลย มีของดีในมือแต่ไม่รู้จักพัฒนา
- ลูกน้องกำลังเซ็งบรรยากาศมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะทำงานได้ดีก็ไม่เคยได้รับคำชื่นชมจากนาย
- ถ้าคุณตายในห้องก็คงไม่มีใครได้ทันสังเกต ฮิ ฮิ!!!

 

 


วิธีรักษา
คุณต้องกลับมาเป็นหัวหน้าคนใหม่ จงมีส่วนร่วมกับงานทุกงาน พูดคุยกับลูกน้องคุณ ถามพวกเขาว่าอยากจะทำอะไรให้บรรลุผลสำเร็จ ชี้แนะวิธีการให้พวกเขาไปถึงจุดนั้น กระตุ้นบรรยากาศในการทำงานให้คึกคักด้วยการตั้งเป้าหมายใหม่ๆ เรื่อยๆ และให้รางวัลกับผู้ที่ทำสำเร็จเพื่อสร้างแรงจูงใจ
โปรดติดตามอ่าน "โรคที่ 10" ในตอนต่อไปนะคะ

 

 

 

โดย หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายสัปดาห์

อัพเดทล่าสุด