https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
รวมคำศัพท์ภาษาเหนือ หมวดต่างๆ รวบรวมไว้มากที่สุด MUSLIMTHAIPOST

 

รวมคำศัพท์ภาษาเหนือ หมวดต่างๆ รวบรวมไว้มากที่สุด


7,565 ผู้ชม

รวมคำศัพท์ภาษาเหนือ หมวดต่างๆ รวบรวมไว้มากที่สุด


คำศัพท์ตัวอย่าง (ภาษาเหนือ)

รวมคำศัพท์ภาษาเหนือ หมวดต่างๆ รวบรวมไว้มากที่สุด

จำนวนนับ
1 = นึ่ง
2 = สอง
3 = สาม
4 = สี่
5 = ห้า
6 = ฮก
7 = เจ๋ด
8 = แปด
9 = เก้า
10 = ซิบ
11 = ซิบเอ๋ด
20 = ซาว
21 = ซาวเอ๋ด
พืช ผัก ผลไม้
มะละกอ = บะก้วยเต๊ศ
กล้วยน้ำว้า = ก้วยอ่อง / ก้วยนิอ่อง
มะตูม = บะปีน
ส้มเขียวหวาน = ส้มเกลี้ยง เขียวหวาน
แตงล้าน = ม่ะแต๋งซั้ง ( ร้านที่ทำให้เครือแตงพันขึ้นไป ทางเหนือเรียกว่า ซั้ง )
น้อยหน่า = ม่ะหน้อแหน้ / น้อยแหน้
บวบงู = ม่ะนอยงู
มะเขือเปราะ = บะเขือผ่อย
มะเขือยาว = บะเขือขะม้า - - ออกเสียง ม่ะเขือขะม่า / ม่ะเขือหำม้า
มะระขี้นก = บะห่อย
แตงกวา = บะแต๋ง
กล้วย = เชียงใหม่ เรียก ก้วยใต้ ลำปาง เรียก ก้วยลิอ่อง หรือ ก้วย โก๊ย
กล้วยน้ำว้า = ก้วยใต้
พุทรา = หม่ะตัน
ละมุด = หม่ะมุด
กระท้อน = บะตื๋น หมะต้อง
มะปราง = บะผาง
ฝรั่ง = บ่ะหมั้น,บะแก๋ว
ขนุน = หม่ะหนุน,บ่ะหนุน
มะพร้าว = บะป๊าว
ส้มโอ = บะโอ
ฟักทอง = บะฟักแก้ว /บะน้ำแก้ว/น้ำแก้ว
ฟักเขียว = บะฟักหม่น
มะแว้ง = บะแขว้งขม
มะเขือพวง = บะแขว้ง /บ่ะแขว้งกุลา
ลูกยอ = หม่ะต๋าเสือ
มะเขือเทศ = บะเขือส้ม
กระท้อน = บะตึ๋น
ตะไคร้ = ชะไคร
คึ่นช่าย = ผักกะพึน,กำพึน (กะปึน)
ผักตำลึง = ผักแคบ
ชะพลู = ผักแค ใบปูนา ปูลิง
สัตว์
จิ้งหรีด = จิ้กุ่ง,จิ้หีด
ค้างคก = ค้างคาก กบตู่
ลูกอ๊อด = อีฮวก
ปลาไหล = ปลาเอี่ยน ปลาเหยี่ยน
จิ้งเหลน = จั๊ก-กะ-เหล้อ
กิ้งก่า = จั๊ก-ก่า
เครื่องใช้
กรรไกร = มีดยับ มีดแซม
กระดุม = บะต่อม
เข็มขัด = สายแอว สายฮั้ง
ช้อน = จ๊อน
ทับพี = ป้าก
ถุงเท้า = ถุง**
ผ้าเช็ดตัว = ผ้าตุ้ม
ผ้าห่ม = ผ้าต๊วบ
ยาสูบ = ซีโย
รองเท้า = เกือก /เกิบ
รองเท้าฟองน้ำ = แค็บ
คำกริยา
กำปั้น หมัด = ลูกกุย
โกรธ = โขด
กลับ = ปิ๊ก (เช่น "เฮาปิ๊กบ้านละหนา")
กางร่ม = กางจ้อง
โกหก = วอก ขี้จุ๊
กิน = กิ๋น
ก่าย = ปาด อิง
ขโมย = ขี้ลัก
ขี่หลังคน(เกาะ) = เก๊าะ
ขี้เหนียว = ขี้จิ๊
คิด = กึ๊ด
เครียด = เกี้ยด
จริง = แต๊(เช่น "แต๊ก๊ะ" = "จริงหรอ")
เจ็บ = เจ๊บ
ใช้ = ใจ๊
ดู = ผ่อ
เด็ก = ละอ่อน
ตกคันได = ตกบันได
เที่ยว = แอ่ว
ทำ = ยะ(เช่น "ยะหยัง" = "ทำอะไร")
นั่งพับเพียบ = นั่งป้อหละแหม้
นั่งขัดสมาธิ = นั่งขดขวาย
นั่งยอง ๆ = นั่งข่องเหยาะ,หย่องเหยาะ
นั่งไขว่ห้างเอาเท้าข้างหนึ่งพาดบนเข่า = นั่งปกขาก่ายง้อน
นั่งวางเฉย นั่งหัวโด่ = นั่งคกงก(ก๊กงก)
นั่งลงไปเต็มที่ตามสบาย(โดยไม่กลัวเปื้อน) = นั่งเป้อหละเหม้อ, นั่งเหม้อ
พูด = อู้
รัก = ฮัก
รู้ = ฮู้
ลื่นล้ม = ผะเริด
วิ่ง = ล่น
สวมรองเท้า = ซุบแข็บ
สะดุด = ข้อง
สวยจังเลยนะ = งามหลายน้อ
สบายอกสบายใจ = ซว่างอกซว่างใจ๋
เหรอ = ก๊ะ
ห่วง = ห่วง (คำเมืองแท้ๆคือ อ่วง ว้อง หรือ ข๋าง)
เหนื่อย = อิด หม้อย
ให้ = หื้อ
อยาก = ไข
อยากอ้วก อยากอาเจียน = ใขฮาก
อร่อย = ลำ
อร่อยมาก = จ๊าดลำ
อย่าพูดมาก = จ๊ะไปปากนัก
อย่าพูดเสียงดัง = จ๊ะไปอู้ดัง
คิดไม่ออก = กึ๊ดหม่ะออก
คำวิเศษณ์ และอื่นๆ
ก็ = ก่
** = ง่าว
เช่น = เจ้น
ถึง = เถิง
ไม่ = หมะ(เช่น หมะใจ๊ = ไม่ใช้)
นะ = เน้อ(เช่น เน้อครับ = นะครับ)
เป็น = เป๋น
ร่ม หมายถึง ร่มเงา = ฮ่ม
ร่ม หมายถึง (ร่มกันแดด-กันฝน) = จ้อง
ใหญ่ = หลวง(เช่น "หูหลวง" = "หูใหญ่")
เหนียว = ตั๋ง
ทุก = กุ๊ (เช่น กุ๊ๆ คน= ทุกๆคน)
แบบนี้ อย่างนี้ = จะอี้
แบบนั้น อย่างนั้น = จะอั้น
คำนาม สรรพนาม
ฉัน = เปิ้น (สุภาพ) , ฮา(ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชักับเพื่อนผู้ชาย)
เธอ = ตั๋ว(สุภาพ) , คิง(ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชักับเพื่อนผู้ชาย)
เขา(สรรพนามบุรุษที่ 3) = เปิ้น
ปู่ย่าตายาย ลุงป้าน้าอา = อุ้ย (เช่น แม่อุ้ย ป้ออุ้ย)
ผู้ชาย = ป้อจาย
ผู้หญิง = แม่ญิง
พวกเขา = หมู่เขา
พวกเธอ = สูเขา (สุภาพ), คิงเขา(ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชักับเพื่อนผู้ชาย)
พวกเรา = หมู่เฮา, เฮาเขา
พ่อ = ป้อ
พี่ชาย = อ้าย,ปี่
พี่สาว = ปี่
ยี่สิบบาท = ซาวบาท
ยี่สิบเอ็ด = ซาวเอ็ด
เรือน = เฮือน
โรงเรียน = โฮงเฮียน
อิฐ = บ่าดินกี่
คำเล่าลือ = กำสีเน
ปฏิทิน = ปั๊กกะตืน คำเมืองแท้ๆจะแปลว่าปฏิทิน

สี

ดำคึลึ = คนอ้วนล่ำผิวดำ
ดำผืด = ฝูงนกฝูงกาขนดำอยู่เป็นฝูง
ดำคุมมุม = ดำสลัวอยู่ในความมืด
ดำขิกติ้ก = ดำซุปเปอร์
ดำคิมมิม = คนผอมกระหร่อง ผิวดำ
ดำเหมือนเเหล็กหมก = ดำเหมือนเหล็กไหม้ไฟ
ดำเหมือนหมิ่นหม้อ = ดำเหมือนเขม่าติดหม้อดินที่ไหม้ไฟ
ดำผึด = ดำทั่วทั้งแถบ
ดำผึดำผึด = ดำมากๆทั่วๆไป
แดงฮ่าม = แดงอร่าม
แดงเผ้อเหล้อ = แดงเป็นจุดใหญ่จุดเดียว
แดงปะหลึ้ง = แดงจัดมาก
แดงปะหลิ้ง = แดงอมชมพู แดงเป็นจุดเล็กๆ
เหลืองฮ่าม = เหลืองอร่าม
เหลืองเอิ่มเสิ่ม = เหลืองอมส้ม
เขียวอุ้มฮุ่ม = เขียวแก่
เขียวปึ้ด = เขียวจัดมาก
มอยอ้อดฮ้อด = สีน้ำตาลหม่น
ขาวจั๊วะ = ขาวนวล
ขาวโจ๊ะโฟ้ะ = ขาวมากๆ
ขาวเผื้อะขาวเผือก = มองไปทางไหนก็ขาวไปหมด
เปิดเจ้อะเห้อะ = สีขาวซีด
หม่นซ้อกป้อก = หม่นมัวหรือเทาอ่อน
หม่นโซ้กโป้ก = หม่นสกปรกหรือสีเทาแก่
หมองซ้อกต๊อก = ดูเก่า หรือซีด จืดไป
เส้าแก๊ก = สีหม่นหมองมาก
เส้าตึ้มตื้อ = ใบหน้าหมองคล้ำ สีมืดไม่สดใส
ลายขุ่ยหยุ่ย = ลายพร้อย หรือลายเป็นดอกดวง
ใสอ้อดหล้อด = สดใสแบบอาบน้ำเสร็จใหม่ๆ
ใส่ยงยง = สว่างจ้า

แสง-เสียง
มืดแถ้ก = มืดสนิท
มืดสะลุ้ม = มืดสลัวๆ
มืดซุ้มซิ้ม = มืดนิดๆ
มืดวุ่ยวาย = มืดลางๆ ยังพอจำหน้ากันได้
แจ้งฮุมหุฮุมหู่ = สว่างลางๆเลือนๆ
แจ้งฮ่าม = สว่างจ้าสว่างเรืองรอง
แจ้งลึ้ง = สว่างโร่เห็นได้ชัด
แจ้งดีขวายงาม = สว่างปลอดโปร่งโล่งใจไม่มีอุปสรรค
หันวุยวาย = เห็นเลือนๆลางๆ
ดั้กปิ้ง = เงียบกริบ
ดั้กปิ้งเย็นวอย = เงียบเชียบ
ดั้กแส้ป = ไม่ได้ข่าวคราว
ดั้กก๊กงก = นั่งนิ่ง
ดังทึดทึด = เสียงดังก้องไปทั่ว
กลิ่น รส
เหม็นโอ๊ง, เหม็นโอ่ = เหม็นเน่า
จ๋างแจ้ดแผ้ด = จืดชืด
ขมแก๊ก = ขมมาก
ส้มโจ๊ะโล๊ะ = รสเปรี้ยวมาก
ฝาดหยั่งก้นตุ๊ = รสฝาดมาก

คำศัพท์ภาษาเหนือ , ภาษาเหนือ , พูดภาษาเหนือ , ภาษาเหนือแปลเป็นภาษากลาง , ภาษาเหนือหมวดต่างๆ , เรียนภาษาเหนือ , สอนภาษาเหนือ

ที่มา siamzone.com

อัพเดทล่าสุด