https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
คุณ ประโยชน์ ขมิ้นชันกับขมิ้นชันกับเนื้องอกมดลูก เกี่ยวข้องกันอย่างไร (มีคำตอบ) MUSLIMTHAIPOST

 

คุณ ประโยชน์ ขมิ้นชันกับขมิ้นชันกับเนื้องอกมดลูก เกี่ยวข้องกันอย่างไร (มีคำตอบ)


2,150 ผู้ชม


เราไม่ทราบสาเหตุการมีเนื้องอกมดลูก ทราบแต่ว่าฮอร์โมนของรังไข่มีอิทธิพลทำให้ก้อนเนื้องอกโตขึ้น 
มักมีปัญหาในคนวัยเจริญพันธุ์  อายุที่พบมากที่สุดคือ 30-40 ปี  เมื่อมีก้อนเนื้องอกแล้ว บางคนก้อนโตเร็ว
 บางคนก้อนไม่โตขึ้นเลยก็ได้ และถ้าถึงภาวะหมดประจำเดือน ซึ่งรังไข่ไม่สร้างฮอร์โมนก้อนเนื้องอกก็จะเท่าเดิมหรือลดขนาดลงได้ เมื่อตั้งครรภ์ ตอนแรกก้อนเนื้องอกจะถูกกระตุ้นให้โตขึ้น  แต่ตอนท้าย ๆ ก้อนเนื้องอก
จะยุบตัวลง
อาการของเนื้องอกมดลูก
อาการของเนื้องอกมดลูกเป็นอย่างไรขึ้นอยู่กับตำแหน่งและขนาดของก้อนเนื้องอก  อาการที่พบบ่อย  คือ
1. ประจำเดือนผิดปกติ
 - มามาก
 - มามากและบ่อยขึ้น
 - มาไม่แน่นอน  กะปริดกะปรอย
 - ปวดประจำเดือน
 - ซีด โลหิตจางจากการเสียเลือด (ประจำเดือน)
2. อาการปวด - ปวดท้องน้อย  หรือ ปวดหลังส่วนล่าง มักเป็นลักษณะปวดถ่วง ๆ หนัก ๆ ตื้อ ๆ หรืออาจปวดรุนแรงก็ได้
 - เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์
3. อาการจากการกดเบียดอวัยวะใกล้เคียง
 - ปัสสาวะบ่อย  หรือปัสสาวะลำบาก
 - ท้องผูก  ปวดถ่วงทวารหนัก  ถ่ายอุจจาระลำบาก
 - ปวดเกร็งในท้อง
4. ท้องใหญ่ขึ้นกว่าปกติ  คลำก้อนได้ในท้อง
5. ภาวะมีบุตรยาก  และแท้งบุตรง่าย
อาการทั้ง 5 อย่างที่กล่าวแล้วนี้  อาจเกิดจากสาเหตุโรคอย่างอื่นก็ได้  ดังนั้นถ้ามีอาการดังกล่าวต้องมาตรวจให้ทราบว่าเป็นโรคอะไร
เอาล่ะค่ะ ความเห็นนี้เป็นคำตอบของคำถามที่ดิฉันได้ถามเพื่อนๆเอาไว้ ลองตรวจคำตอบดูกันนะคะ

นอกจากอาการดังกล่าวแล้ว แพทย์อาจวินิจฉัยจากการตรวจร่างกายและตรวจภายใน ซึ่งมีการตรวจพิเศษอื่น ๆ

มาช่วยเพื่อให้แน่ใจว่าเป็นเนื้องอกมดลูกจริง ไม่ได้เกิดจากโรคอื่น เช่น เนื้องอกรังไข่ ถุงน้ำรังไข่ 

เป็นต้น  การตรวจเพิ่มได้แก่
1.การตรวจด้วยเครื่องอัลตราซาวนด์ มักใช้กันเป็นประจำในทางสูตินรีแพทย์
2.การส่องกล้องดูโพรงมดลูก คือใช้กล้องลักษณะเป็นแท่งเล็ก ๆ ยาว ๆ สอดผ่านปากมดลูก

เข้าไปส่องดูในโพรงมดลูกเหมือนกับตาเห็น จะวินิจฉัยก้อนเนื้องอกที่อยู่ในโพรงมดลูกได้
3.การฉีดน้ำยาและถ่ายเอ็กซ์เรย์ดูในโพรงมดลูก ทำให้สามารถเห็นลักษณะขอบเขตของโพรงมดลูก

ว่าเปลี่ยนแปลงผิดปกติไปหรือไม่ และดูว่าท่อนำไข่ตันหรือเปล่าได้ด้วย

ที่มา  board.trekkingthai.com

อัพเดทล่าสุด