https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน MUSLIMTHAIPOST

 

ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


13,810 ผู้ชม


Question Excerpt From ทดสอบการเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

Q.1) 

ข้อใดเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้มีชื่อแบบ IUPAC ได้ถูกต้อง
         
            
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน



A.
B.
C.
D.
Q.2)  ข้อใดเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้มีชื่อแบบ IUPAC ได้ถูกต้อง
              
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


A.
B.
C.
D.
Q.3)  ข้อใดเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้มีชื่อแบบ IUPAC ได้ถูกต้อง
        
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


A.
B.
C.
D.
Q.4)  ข้อใดเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้มีชื่อแบบ IUPAC ได้ถูกต้อง
                  
           
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


A.
B.
C.
D.
Q.5)  ข้อใดเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้มีชื่อแบบ IUPAC ได้ถูกต้อง
        
                 
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


A.
B.
C.
D.
Q.6)  ข้อใดเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้มีชื่อแบบ IUPAC ได้ถูกต้อง
     
             
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


A.
B.
C.
D.
Q.7)  ข้อใดเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้มีชื่อแบบ IUPAC ได้ถูกต้อง
      
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


A.
B.
C.
D.
Q.8)  ข้อใดเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้มีชื่อแบบ IUPAC ได้ถูกต้อง
           
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


A.
B.
C.
D.
Q.9)  ข้อใดเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้มีชื่อแบบ IUPAC ได้ถูกต้อง
                
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


A.
B.
C.
D.
Q.10)  ข้อใดเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้มีชื่อแบบ IUPAC ได้ถูกต้อง
          
ข้อสอบไฮโดรคาร์บอน ข้อสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบทดสอบสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


A.
B.
C.
D.

------------

  ข้อใดเป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบในร่างกายของนักเรียน

         ก.      C  กับ  H             ข.      C  กับ  O             ค.      C,  H   กับ  O      ง.      C,  H   O  และ  N

         เมื่อโปรตีนถูกย่อยสลายจนถึงขั้นสุดท้ายจะได้สารใด

         ก.      กลีเซอรอล           ข.      เพปไทด์              ค.      กรดอะมิโน           ง.      ธาตุ  N,  H,  C,  O

         เมื่อกินอาหารโปรตีนเข้าไปจะขับถ่ายออกจากร่างกายในรูปของสารประกอบใด

         ก.      กรดอะมิโน           ข.      ยูเรีย                    ค.      กลูโคส               ง.      กรดไขมัน

         การฉีดกลูโคสให้ให้กับคนไข้ที่มีอาการเพลีย  จะมีผลแตกต่างจากการให้คนไข้รับประทานอาหารพวก

         แป้งอย่างไร

         ก.      มีผลเหมือนกัน  เพราะแป้งก็มีกลูโคสเช่นเดียว

         ข.      มีผลต่างกัน  เพราะแป้งกับกลูโคสเป็นสารต่างกัน

         ค.      มีผลต่างกัน  เพราะกลูโคสจากการฉีดเข้าไปจะได้นำไปใช้ทันที

         ง.      มีผลต่างกัน เพราะแป้งให้กลูโคสปริมาณมากเกินไป

         วัวควายกินหญ้าเป็นอาหาร  เอนไซม์ ที่ช่วยย่อย  จะเร่งปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของสารใดและจะได้สารใด เป็นผลิตภัณฑ์  ตามลำดับ

         ก.      แป้ง – กลูโคส                       ข.      เซลลูโลส – กลูโคส

         ค.      น้ำตาลซูโครส – เซลลูโลส     ง.      ไดแซ็กคาไรด์ – มอนอแซ็กคาไรด์

         เหตุใดเมื่อเคี้ยวหรือ อมข้าวไว้ในปากนาน ๆ จึงรู้สึกมีรสหวาน

         ก.      น้ำลายมีเอนไซม์อะไมเลสย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลมอลโตส

         ข.      น้ำลายมีเอนไซม์อะไมเลสย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลกลูโคส

         ค.      น้ำลายมีฤทธิ์เปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาลซูโครส

         ง.      ถูกทุกข้อ

         สารในข้อใด ไม่ใช่ สารชีวโมเลกุล  หรือ ส่วนประกอบของสารชีวโมเลกุล

         ก.      กรดอะมิโน           ข.      กรดไขมัน             ค.      กลีเซอรอล          ง.      สบู่

         ข้อใดมีความสัมพันธ์กันไม่เป็นไปในทางเดียวกัน

         ก.      กลูโคส – แป้ง                                        ข.      โปรตีน – กรดอะมิโน

         ค.      กรดไขมัน – น้ำมัน                                  ง.      ทั้ง ข และ ค

         สารในข้อใดควรมีมวลโมเลกุลน้อยที่สุด

         ก.      แป้ง                                                        ข.      กรดไขมัน

         ค.      โปรตีน                                                   ง.      เอนไซม์

         สารในข้อใดมีธาตุเป็นองค์ประกอบต่างกัน

         1.      กลูโคส – ไขมัน                                       2.      กรดอะมิโน – กลูโคส    

         3.      เอนไซม์ – กรดอะมิโน                             4.      แป้ง – โปรตีน

         ก.      2,  4                    ข.      1,  4                    ค.      1,  3                    ง.      2,  3

         สารชีวโมเลกุลในข้อใด  ละลายน้ำได้

         ก.      ไขมัน และโปรตีน           ข.      แป้งและเอนไซม์            ค.      ไขมันและแป้ง      ง.      ไม่สารใด

         สารชีวโมเลกุลในชนิดใดที่โครงสร้างมีแรงยึดเหนี่ยวกันมากมาย

         ก.      แป้ง                              ข.      โปรตีน                         ค.      กรดอะมิโน           ง.      ไขมัน

         เอนไซม์เป็นสารประเภทใด

         ก.      กรดอะมิโน                    ข.      พอลิเพปไทด์                ค.      ไขมัน          ง.      โปรตีน

         สารอาหารในข้อใดที่มีธาตุเป็นองค์ประกอบเหมือนกัน  แต่การจัดเรียงตัวของอะตอมของโครงสร้าง

         ต่างกัน

         ก.      นมสด – น้ำกะทิ                                      ข.      ข้าวสุก – เนื้อหมู           

         ค.      น้ำผึ้ง – นมข้นหวาน                                ง.      ปลาทู – ถั่วเหลือง

         ไขมันเป็นสารประกอบประเภทใด

         ก.      ไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว                        ข.      ไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว

         ค.      แอลกอฮอล์                                                    ง.      เอสเทอร์

ใช้ภาพต่อไปนี้ตอบคำถาม

         บริเวณใดของพื้นผิวโลก   ที่มี  น้ำมันและกาซ  ตามลำดับ

         ก.      E  และ D             ข.      A   และ  B           ค.      C  และ  B            ง.      B  และ  A

         บริเวณ  C  คือ  อะไร

         ก.      น้ำมัน          ข.      กาซธรรมชาติ      ค.      น้ำ                       ง.      หิน

ใช้ข้อมูลจากรูปภาพต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 18 – 20

         กาซและน้ำมันอยู่บริเวณใด

         ก.      B  และ  C            ข.      C  และ  D            ค.      D  และ  E           ง.      C  และ  E

         น้ำและน้ำมันควรเป็นบริเวณใด

         ก.      E  และ  D            ข.      D  และ  C            ค.      D  และ  E           ง.      C  และ  D

         บริเวณใดควรเป็นหิน

         ก.      A  และ  B            ข.      C  และ  B            ค.      E  และ  D           ง.      C  และ  E

         ข้อใดกล่าวถึงปิโตรเลียมได้ถูกต้อง

         (1)     เป็นของผสม                          (2)    เป็นกาซ     

         (3)     เป็นของเหลวข้น                     (4)    เป็นไฮโดรคาร์บอนหลายชนิด

         ก.      1,2                      ข.      1,3                     ค.      1,3,4                   ง.      1,2,3,4

         น้ำมันปิโตรเลียม  หมายถึงข้อใด

         ก.      น้ำมันดิบซึ่งมีสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดปนกันอยู่ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย

         ข.      ของผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดที่เป็นเชื้อเพลิง

         ค.      กาซที่ได้จากพืชหรือสัตว์ ที่ตายในทะเลนับเป็นเวลาล้าน ๆ ปี

         ง.      สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดต่าง  ๆ  ซึ่งได้จากการกลั้นลำดับส่วนของน้ำมันดิบ

         การสำรวจแหล่งปิโตรเลียมโดยการวัดทางธรณีวิทยาพื้นผิวทำให้ได้ข้อมูลใด

         ก.      ความลึกของชั้นหิน  และความกว้างของแอ่ง

         ข.      มีโอกาสพบโครงสร้างใหม่และชนิดของหินในการกักเก็บปิโตรเลียม

         ค.      แหล่ง   ขอบเขต  ลักษณะโครงสร้างของแอ่งปิโตรเลียม

         ง.      ได้ข้อมูล ทั้ง  ก  ข  ค  แต่ละเอียดขึ้น

คำชี้แจง    ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ  24 – 26

การสำรวจปิโตรเลียมมีหลายวิธีดังนี้

                  (1)    ทางธรณีวิทยา               (2)    ทางธรณีวิทยาพื้นผิว              (3)     ทางธรณีฟิสิกส์

                  (4)    วัดความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กโลก      (5)     วัดความโน้มถ่วงของโลก

                  (6)    การวัดความไหวสะเทือน

24.    นักธรณีวิทยาต้องการสำรวจแหล่งปิโตรเลียม  จะใช้วิธีใด

         ก.      (1)  (2)  (4)  (5)  (6)                             ข.      (2)  (4)  (5)  (6)

         ค.      (1)  (2)  (4)  (6)                                            ง.      ใช้ทุกข้อ

25.    การสำรวจแหล่งปิโตรเลียมวิธีใด  ทำให้ได้ข้อมูลความหนาขอบเขต  ความกว้างของแอ่ง  และความลึก

         ของชั้นหิน

         ก.      (2)                       ข.      (3)                               ค.      (4)                      ง.      (5)

         การสำรวจแหล่งปิโตรเลียมโดยการวัดทางธรณีวิทยาพื้นผิวทำให้ได้ข้อมูลใด

         ก.      ความลึกของชั้นหิน และความกว้างของแอ่ง

         ข.      มีโอกาสพบโครงสร้าง และชนิดของหินในการกักเก็บปิโตรเลียม

         ค.      แหล่ง  ขอบเขต  ลักษณะโครงสร้างของแอ่งปิโตรเลียม

         ง.      ได้ข้อมูลทั้ง   ก.  ข.  ค.  แต่ละเอียดขึ้น

         เมื่อมีสารไฮโดรคาร์บอน  ที่มีมีมวลโมเลกุลมาก  ๆ  ถ้าต้องการนำไปใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิง  หรือเป็น

         มอนอเมอร์  ในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม  จะใช้วิธีใดเพื่อเปลี่ยนโครงสร้างไฮโดรคาร์บอนเหล่านั้น

         ก.      รีฟอร์มมิ่ง             ข.      แอลคิเคชัน           ค.      แตกสลาย            ง.      โอลิโกเมอไรเซชัน

         ข้อใดเป็นหลักการกลั่นน้ำมันดิบ  ที่ถูกต้อง

         ก.      กลั่นลำดับส่วนเหมือนกับการกลั่นในห้องโดยทั่ว ๆ ไป โดยสารที่มีจุดเดือดต่ำจะแยกออกมาก่อน

                  ได้แก่พวกกาซปิโตรเลียม

         ข.      กลั่นลำดับส่วนโดยเพิ่มอุณหภูมิให้ไฮโดรคาร์บอนแต่ละชนิดระเหยออกมาตามลำดับอุณหภูมิ

         ค.      ให้ความร้อนจนสารเกือบทั้งหมดระเหยพร้อม ๆ กันแล้วเก็บของเหลวที่ได้แยกเป็นส่วน ๆ ตาม

                  อุณหภูมิที่ต่างกัน

         ง.      ค่อย ๆ ให้ความร้อนตามช่วงอุณหภูมิของจุดเดือด โดยสารที่มีจุดเดือดสูงจะควบแน่นอยู่ตอนล่าง

                  ของหอกลั่น

         ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง  เกี่ยวกับการกลั่นน้ำมันดิบ

         ก.      สารที่มีจุดเดือดต่ำระเหยขึ้นไปควบแน่นที่ส่วนบนของหอกลั่น

         ข.      สารที่มีจุดเดือดสูง ๆ  จะอยู่ที่หอกลั่นส่วนล่าง

         ค.      เป็นการกลั่นลำดับส่วน  โดยสารที่มีจุดเดือดต่ำจะแยกออกมาก่อน

         ง.      ให้ความร้อนสูงจนเป็นกาซเกือบทั้งหมด  แล้วแยกไปตามช่วงอุณหภูมิ

         ในการกลั่นปิโตรเลียม   ส่วนต่าง ๆ ที่ออกมาจะมีจุดเดือดเรียงตามลำดับน้อยไปมากดังข้อใด

         ก.      กาซหุงต้ม  น้ำมันก๊าด  น้ำมันดีเซล  เบนซิน     

         ข.      น้ำมันดีเซล น้ำมันก๊าด เบนซิน  กาซหุงต้ม

         ค.      กาซหุงต้ม  เบนซิน  น้ำมันดีเซล  น้ำมันก๊าด      

         ง.      กาซหุงต้ม  เบนซิน  น้ำมันก๊าด  น้ำมันดีเซล

Link เว็บข้อสอบเพิ่มเติม https://www.tps.ac.th/~narin/basicchem/index_files/page0024.htm

อัพเดทล่าสุด