https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
สำนักระบาดวิทยาโรคฉี่หนู จังหวัดตรัง สื่อการสอนโรคฉี่หนู โรคฉี่หนู อาการ MUSLIMTHAIPOST

 

สำนักระบาดวิทยาโรคฉี่หนู จังหวัดตรัง สื่อการสอนโรคฉี่หนู โรคฉี่หนู อาการ


881 ผู้ชม


สำนักระบาดวิทยาโรคฉี่หนู จังหวัดตรัง สื่อการสอนโรคฉี่หนู โรคฉี่หนู อาการ
โรคฉี่หนู – ร่วมเรียนรู้ สู้โรคร้าย

ประเทศไทยในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา ต้องประสบกับปัญหาน้ำท่วมขังในหลายพื้นที่ หลายจังหวัด เมื่อเกิดน้ำท่วมขัง โรคร้ายต่างๆ บางโรคที่ปกติไม่พบมากนัก ก็อาจพบอย่างแพร่หลายมากขึ้นเป็นอย่างมาก หนึ่งในจำนวนนั้นได้แก่ โรคเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) หรือที่ชาวบ้านคุ้นเคยกันดีกว่าในชื่อ “โรคฉี่หนู” นั่นเอง
 
โรคฉี่หนู อาจมาจากฉี่ของสัตว์อื่นด้วย
โรค ฉี่หนู เป็นโรคระบาดในคนที่ติดต่อมาจากสัตว์ มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง โรคนี้พบได้ทั่วโลก โดยพบอย่างประปรายตลอดปี แต่พบระบาดรุนแรงในฤดูฝน ในประเทศไทย พบระบาดมากในเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน ซึ่งเป็นผลมาจากการที่น้ำฝนชะล้างเอาเชื้อจากสิ่งแวดล้อม เข้ามารวมกันอยู่ในบริเวณน้ำท่วมขัง ทำให้เชื้อโรคสามารถติดไปกับคนและสัตว์ต่างๆ ที่สัมผัสกับน้ำขังเหล่านั้นในที่สุด
แม้ว่าหนูจะเป็นพาหะสำคัญของโรคนี้จนมีผู้นำไปตั้งเป็นชื่อของโรสำนักระบาดวิทยาโรคฉี่หนู จังหวัดตรัง สื่อการสอนโรคฉี่หนู โรคฉี่หนู อาการค แต่อันที่จริงแล้ว สัตว์อื่นๆ อีกหลายชนิดก็เป็นพาหะของโรคนี้ได้เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นวัว ควาย หรือสัตว์เลี้ยงใกล้ตัวอย่าง แมว และสุนัข เป็นต้น
       การติดเชื้อ มักเกิดขึ้นผ่านทางบาดแผลที่เกิดจาการแช่น้ำเป็นเวลานานๆ ผู้ปกครองจึงไม่ควรปล่อยให้เด็กๆ ลงเล่นน้ำ เพราะเสี่ยงติดเชื้อโรคนี้ ซึ่งอาจมีผลร้ายแรงทำให้เสียชีวิตได้
         ขณะนี้พบผู้ป่วยติดเชื้อโรคนี้แล้วทั่วประเทศมากกว่า 1,000 ราย
นอกจากปัจจัยต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว ยังมีปัจจัยสำคัญอื่นอีกหลายปัจจัย ที่ทำให้มีผู้ป่วยโรคฉี่หนูจำนวนมาก 
 
รู้ได้อย่างไรว่า เป็นโรคฉี่หนู
         สาเหตุหนี่งที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตเนื่องจากโรคฉี่หนูไม่น้อย อาจเนื่องมาจากอาการของโรค ซึ่งในเบื้องต้นจะคล้ายกับโรคไข้หวัดธรรมดา หรือโรคติดเชื้อที่มีสาเหตุมาจากเชื้อโรคอื่นๆ เช่น โรคไข้เลือดออก คือ ปวดศีรษะ โดยมักจะปวดบริเวณหน้าผาก หรือบริเวณหลังตา นอกจากนั้น ยังมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ บริเวณขาและเอว มีไข้สูงร่วมกับมีอาการหนาวสั่น และอาจมีตาแดง สู้แสงไม่ได้
         อาการของโรคที่อธิบายมาข้างต้น ยังทำให้สับสนกับโรคอื่นๆ ที่พบมากในฤดูฝนหรือพบในบริเวณที่ประสบปัญหาน้ำท่วม จึงยิ่งทำให้วินิจฉัยโรคยากขึ้นไปอีก
 การตรวจวินิจฉัยอย่างแม่นยำในห้องปฏิบัติการ จึงเป็นวิธีการที่ให้ข้อสรุปอย่างชัดเจนได้ว่า ผู้ป่วยติดโรคฉี่หนูแล้วจริงหรือไม่
       สำหรับการตรวจว่าเป็นโรคฉี่หนูหรือไม่นั้น   ในปัจจุบัน มีอยู่หลายวิธี ซึ่งแต่ละวิธีก็มีจุดเด่น จุดด้อยที่แตกต่างกันออกไป เช่น วิธีการตรวจหา แอนติเจน (สารซึ่งกระตุ้นให้ร่างกายคนและสัตว์สร้างภูมิคุ้มกัน) คือ ตัวเชื้อแบคทีเรียโดยตรง ก็เป็นวิธีการที่บอกได้แน่นอนว่า เป็นเชื้อแบคทีเรียก่อโรคนี้หรือไม่ แต่วิธีนี้มีกระบวนการที่ค่อนข้างยุ่งยาก ใช้เวลานาน และมีความเสี่ยงต่อผู้ปฏิบัติงานอีกด้วย จึงไม่ค่อยนิยมใช้กันนัก
ปัจจุบัน มักใช้ชุดตรวจสอบเลือด ที่อาศัยวิธีการตรวจหา แอนติบอดี (สารในระบบภูมิคุ้มกันที่ร่างกายคนและสัตว์ต่างๆ สร้างขึ้น เมื่อมีสารแปลกปลอมต่างๆ จากภายนอก ซึ่งรวมทั้งเชื้อโรค หลุดรอดเข้าไปสู่กระแสเลือด) ซึ่งการตรวจสอบแบบนี้ แม้ว่าจะได้ผลการตรวจที่ดีพอสมควร
แต่มีข้อจำกัดคือ จะตรวจได้ชัดเจน แม่นยำก็ต่อเมื่อร่างกายแสดงอาการของโรคออกมานานพอสมควรแล้ว เช่น 5-7 วันภายหลังจากเชื้อแบคทีเรียเข้าสู่กระแสเลือด เป็นต้น
 
ศาสตร์และศิลป์ของชุดตรวจโรคฉี่หนู
           ดังนั้น การค้นหาวิธีการตรวจสอบอย่างรวดเร็ว แม่นยำ และสามารถตรวจสอบเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้ได้อย่างกว้างขวางครอบคลุม (เชื้อโรคชนิดนี้มีสายพันธุ์กว่า 200 สายพันธุ์ที่ก่อโรคได้) จึงนับได้ว่าเป็นเรื่องท้าทายนักวิจัยเป็นอย่างยิ่ง
 ศูนย์พันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) เห็นความสำคัญของปัญหาโรคฉี่หนู และสนับสนุนทุนวิจัยแก่นักวิจัยจากหน่วยงานต่างๆ เช่น ให้ทุนแก่ ส.พญ. ดวงใจ สุวรรณ์เจริญ สถาบันสุขภาพสัตว์ กรมปศุสัตว์ และพญ. สุทธิพันธ์ สาระสมบัติ กับ ดร. ปัทมา เอกโพธิ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ในการผลิตชุดตรวจโรคฉี่หนู ซึ่งนักวิจัยสองกลุ่มนี้ ใช้วิธีการที่แตกต่างกันหลายวิธี
ชุดตรวจทั้งสองชุดมีความแม่นยำต่อสายพันธุ์ที่พบในประเทศสูง และให้ผลการตรวจที่เสำนักระบาดวิทยาโรคฉี่หนู จังหวัดตรัง สื่อการสอนโรคฉี่หนู โรคฉี่หนู อาการที่ยงตรง
นอก จากนี้ ชุดตรวจจากมหาวิทยาลัยมหิดล ยังได้รับความนิยม และมีหน่วยงานหลายหน่วยงานนำไปใช้งานจริงแล้ว เช่น ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ จ.นครราชสีมา และภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตรศิริราชพยาบาล เป็นต้น
               นอกจากชุดตรวจซึ่งไบโอเทคสนับสนุนการวิจัยแล้ว ยังมีชุดตรวจโรคฉี่หนูอีกแบบหนึ่ง ซึ่งคณะนักวิจัยนำโดย ศ.ดร. วันเพ็ญ ชัยคำภา ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นผู้บุกเบิกทำขึ้น ชุดตรวจดังกล่าวได้รับการทดสอบว่าใช้ได้ผลดี และใช้ในโรงพยาบาลหลายแห่ง เช่น โรงพยาบาลขอนแก่น เป็นต้น
คณะนักวิจัยชุดนี้ ยังกำลังศึกษาเกี่ยวกับวัคซีนโรคนี้อีกด้วย
นอก จากนี้ ชุดตรวจแบบต่างๆ แล้ว ไบโอเทคยังสนับสนุน ดร. ศรีสุรางค์ ตันติมาวานิช คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในการศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอ และการออกแบบตัวตรวจจับจำเพาะ ซึ่งจะมีประโยชน์ในการวิจัยหาแหล่งต้นตอการแพร่ระบาด อันนับได้ว่าเป็นก้าวย่างสำคัญของการศึกษาทางด้านระบาดวิทยา ซึ่งจะนำไปสู่การป้องกันและกำจัดโรคอย่างได้ผลต่อไป
            จะ เห็นได้ว่า การศึกษาวิธีการวินิจฉัยสายพันธุ์ของเชื้อแบคทีเรียต้นเหตุโรคฉี่หนู มีอยู่อย่างหลากหลายวิธี ซึ่งล้วนแล้วแต่นำไปสู่วิธีการตรวจโรคอย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีผลช่วยให้สามารถลดการสูญเสียชีวิตผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้นในที่สุด


ทั้งนี้การพัฒนาชุดตรวจแบบต่างๆ นอกจากใช้ “ศาสตร์” คือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการทำแล้ว ยังต้องการ “ศิลป์” คือ ความสามารถประยุกต์ความรู้ จนสามารถทำให้ได้เป็นวิธีการที่สะดวก แต่ยังมีความแม่นยำ เที่ยงตรงอีกด้วย 
 
องค์ความรู้รวม ร่วมสู้โรคร้าย
 นับ เป็นเรื่องน่ายินดีว่า การต่อสู้กับโรคร้ายในประเทศไทยนั้น นักวิจัย หน่วยงานวิจัย และหน่วยงานสนับสนุนการวิจัย ต่างร่วมแรง ร่วมใจทำงานอย่างประสานสอดคล้องกัน เพื่อเป้าหมายในเรื่อง ความกินดี อยู่ดีของคนไทย เป็นที่ตั้ง (ยังมีงานอีกมากที่ไม่ได้กล่าวถึงไว้ในที่นี้)   เนื่องจากองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยจากกลุ่มวิจัยต่างๆ ก็เป็นหนึ่งใน “องค์ความรู้รวมของประเทศ” ซึ่งจำเป็นต่อการร่วมกันรับมือ และต่อสู่กับภัยจากโรคร้าย



โดยเฉพาะโรคที่สำคัญกับคนไทย ทั้งที่เป็นภัยเฉพาะหน้า และภัยระยะยาวอื่นๆ อีกด้วย
 น่า ดีใจที่งานวิจัยสมัยใหม่ของนักวิจัยไทยจำนวนมาก มีประโยชน์ใช้งานได้จริง ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตคนไทยอย่างเห็นได้ชัดเจน เป็นรูปธรรม และไม่ต้องขึ้นหิ้งกันอีกต่อไปแล้ว! 

ที่มา : เว็บไซต์  vcharkarn.com

อัพเดทล่าสุด