https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
สาวตางาม กับจอมยุทธ์contact lens MUSLIMTHAIPOST

 

สาวตางาม กับจอมยุทธ์contact lens


563 ผู้ชม


การใช้ contact lens ในยุคปัจจุบันมุ่งไปทางด้านแฟชั่นมากกว่าด้านเครื่องมือแพทยื หรือด้านสุขภาพ   

    

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ลงนามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ควบคุมมาตรฐานความปลอดภัยผู้ใช้คอนแท็กต์เลนส์ หรือเลนส์สัมผัส ให้ผู้ผลิตหรือนำเข้าต้องได้รับใบอนุญาต และต้องพิมพ์ฉลากภาษาไทยอ่านได้ชัดเจน มีคำแนะนำ คำเตือน ข้อห้ามใช้ และผู้ที่ไม่ควรใช้ โดยจะมีผลบังคับใช้ หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป  
       
นพ.สุพรรณ ศรีธรรมมา 31 สิงหาคม 2553 นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้ลงนามในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ควบคุมมาตรฐานคอนแท็กต์เลนส์ (contact lens)หรือเลนส์สัมผัส เพื่อให้มีความปลอดภัยต่อผู้ใช้เลนส์ชนิดนี้  
        
นพ.สุพรรณกล่าวว่า ตามประกาศดังกล่าว กำหนดให้คอนแท็กต์เลนส์เป็นเครื่องมือแพทย์ ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าต้องได้รับใบอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยจะต้องจัดให้มีฉลากบนภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อบรรจุคอนแท็กต์เลนส์ หรือมีไว้เพื่อขาย โดยต้องแสดงข้อความภาษาไทยที่อ่านได้ชัดเจน ทั้งนี้จะมีภาษาอื่นด้วยก็ได้ แต่ความหมายต้องตรงกับข้อความภาษาไทย และในแต่ละรายการจะต้องแสดงชื่อคอนแท็กต์เลนส์ และวัสดุที่ใช้ทำ บอกคุณสมบัติของเลนส์เช่นกำลังหักเห รัศมีความโค้ง บอกชื่อของสารละลายที่ใช้แช่เลนส์ ระยะเวลาการใช้งาน ให้แสดงด้วยอักษรความสูงไม่น้อยกว่า 2มิลลิเมตร ยกเว้นคอนแท็กต์เลนส์ ที่ไม่กำหนดระยะเวลาการใช้งาน มีเดือนปีที่หมดอายุ เลขที่ใบอนุญาตเครื่องมือแพทย์ ชื่อและสถานที่ตั้งของผู้ผลิตหรือผู้นำเข้า ในกรณีที่นำเข้าให้แสดงชื่อผู้ผลิต เมืองและประเทศผู้ผลิตเครื่องมือแพทย์นั้นด้วยโดยต้องระบุชนิดของเลนส์ให้ชัดเจนว่า เป็นเลนส์ชนิดใช้งานพียงครั้งเดียว หรือชนิดใส่และถอดทุกวัน พิมพ์ด้วยอักษรสีแดง เพื่อให้ผู้ใช้เห็นชัดเจน รวมถึงข้อความว่า โปรดอ่านเอกสารกำกับเครื่องมือแพทย์ก่อนใช้ และพิมพ์ข้อความว่า การใช้คอนแท็กต์เลนส์ ควรได้รับการสั่งใช้และตรวจติดตามทุกปีโดยจักษุแพทย์หรือผู้ประกอบโรคศิลปะ

ที่มา

หนังสือพิมพ์ผู้จัดการออนไลน์จากประเด็นข่าวดังกล่าวเป็นที่น่าสนใจว่า ชนิดของเลนส์ 
เนื้อหาสาระ
ช่วงชั้นสาระที่5 : พลังงาน
ว 5.1 : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาระหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำไปใช้ประโยชน์คอนแทคเลนส์” หรือ “เลนส์สัมผัสจัดเป็นเครื่องมือแพทย์ชนิดหนึ่งที่ใช้เพื่อปรับสายตา แต่ในปัจจุบันได้มีการนำเอาคอนแทคเลนส์มาใช้สวมใส่เพื่อความสวยงาม ซึ่งมีทั้งแบบที่ทำให้ดวงตาดูกลมโตขึ้น และแบบที่ช่วยเปลี่ยนสีตาเป็นสีต่าง ๆ ได้อออคอนแทคเลนส์แต่ละชนิด มีค่าคุณลักษณะเฉพาะ (Specification) ที่ระบุข้างบรรจุภัณฑ์คือ
       
POWER กำลังสายตา มีค่าเป็น สำหรับเลนส์เว้า สายตาสั้น และเป็น + สำหรับเลนส์นูน สายตายาว มีหน่วยเป็น ไดออปเตอร์ 
     DIAMETER (
อาจย่อเป็น DIA) เส้นผ่านศูนย์กลางเลนส์ มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร 
     BASE CURVE (
อาจย่อเป็น B.C.) ส่วนโค้งหรือรัศมีความโค้งด้านหลังของเลนส์ มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรเป็นมิลลิเมตร  
     การที่เลนส์จะคับหรือหลวมเกินไป ขึ้นอยู่กับ ค่า
 DIA และ B.C.
ค่า BC น้อยลง เลนส์จะคับขึ้น
ค่า DIA สูงขึ้น เลนส์จะคับขึ้น
     เลนส์ต่างรุ่น จากบริษัทเดียวกัน แม้ BC เท่ากัน อาจคับไม่เท่ากัน ดังนั้น ควรใช้เลนส์แบบเดิมที่แพทย์สั่ง เสมอไม่ควรเปลี่ยนบ่อยๆ
 ที่ สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ความรู้เพิ่มเติม

     การดูแลรักษา คอนแทคเลนส์
ข้อแนะนำการดูแลรักษา คอนแทคเลนส์
1. 
ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนหยิบจับ คอนแทคเลนส์
2. 
เพื่อสุขภาพตาที่ดี ควรหยุดใส่ คอนแทคเลนส์ 1 วันต่อสัปดาห์
3. 
ล้างตลับแช่ คอนแทคเลนส์ ให้สะอาดอยู่เสมอ
4. 
ควรใส่ คอนแทคเลนส์ ก่อนแต่งหน้า และถอดก่อนล้างเครื่องสำอาง
5. 
ควรใช้น้ำยาให้หมดภายใน 1 เดือน และเก็บไว้ที่อุณหภูมิต่ำ เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพของน้ำยา สำหรับลูกค้าที่ใส่ คอนแทคเลนส์ ครั้งแรกหรือลูกค้าที่เปลี่ยน คอนแทคเลนส์ ยี่ห้อใหม่
      ผู้ที่ไม่เหมาะสมจะใช้คอนแทคเลนส์ 
1.
ผู้ที่มีโรคประจำตัว ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคภูมิแพ้ โรคไซนัส เพราะจะทำให้ใส่คอนแทคเลนส์ไม่สบายตาและไม่ชัดได้ รวมถึงผู้ที่กำลังตั้งครรภ์ 
2.
ผู้ที่มีสุขภาพตาไม่ดี เช่น เป็นต้อลม ต้อเนื้อ ตาแดง กระจกตาไม่ไวต่อความรู้สึก ตาแห้ง กะพริบตาครึ่งตา 
3.ผู้ที่ทำงานที่มีมลภาวะ อาทิ ฝุ่นละอองมาก ลมพัดแรง ไอระเหยสารเคมี มีความร้อนสูง มีควันบุหรี่หรือควันพิษ มลภาวะดังกล่าวจะทำให้ความสบายตาลดลงขณะใส่คอนแทคเลนส์ หรือคอนแทคเลนส์อายุการใช้งานสั้นลง เป็นต้น  
4.
ผู้ที่อายุไม่เหมาะสม เพราะคอนแทคเลนส์จะเน้นเรื่องการดูแลรักษาทำความสะอาด ดังนั้นผู้ใช้จะต้องเข้าใจการใช้งานและข้อควรระวังในการใช้งานเป็นอย่างดี 

คำถามเพื่อนำไปสู่การอภิปรายในห้องเรียน
1. 
นักเรียนทราบวิธีการใช้contact lens หรือไม่อย่างไร
2. 
หากมีเพื่อนของนักเรียนมาขอคำแนะนำในการใช้ contact lens นักเรียนจะแนะนำให้ใช้หรือไม่อย่างไร
3. นักเรียนคิดว่าจำเป็นหรือไม่ที่ระบุให้ contact lens เป็นเครื่องมือทางการแพทย์


การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ
สุขศึกษา การอภิปรายถึงความปลอดภัยในการใช้ contact lens
อ้างอิง/แหล่งที่มา

contact lens
-

กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง "คอนแทคท์ เลนส์มีรายละเอียดดังนี้
1. 
แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆ ละ คน พร้อมกับสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ contact lens วิธีการใช้ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพตา ตลอดจนการดูแลเลนส์ โดยใช้เวลา 15 นาที
2. 
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอประเด็นของกลุ่มๆ ละ นาที โดยให้สมาชิกและครูร่วมกันตั้งคำถามและอภิปรายแสดงความคิด
มีรายละเอียดดังนี้เกี่ยวกับ เลนส์
        
โฆษกกระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่า ขณะนี้คอนเทคเลนซ์ กำลังเป็นที่นิยมของวัยรุ่นไทย และเสี่ยงอันตรายต่อตา หากใช้ไม่ถูกวิธี หรือใช้ในทางที่ผิด ในการป้องกันปัญหาดังกล่าว เมื่อวันที่ 
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3141

อัพเดทล่าสุด