https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
"ฝนเหลือง" (Agent Orange) MUSLIMTHAIPOST

 

"ฝนเหลือง" (Agent Orange)


747 ผู้ชม


แรงโน้มถ่วงของโลก   

"ฝนเหลือง" (Agent Orange)

 
"ฝนเหลือง" (Agent Orange)

ที่มาภาพ : https://www.koratdailynews.com/wp-content/uploads/2011/03/4.jpg


       "ฝนเหลือง" (Agent Orange) ผลกระทบของฝนเหลืองต่อระบบนิเวศ  สภาพแวดล้อม และสุขภาพของคน   ฝนเหลือง หรือ T-2 mycotoxin ซึ่งแท้ที่จริงมาจากเชื้อราชนิดหนึ่ง มีสีออกเหลือง และเหนียวติดใบไม้ ที่มีผลต่อผิวหนัง  ทางเดินหายใจ และระบบย่อยอาหาร ทำให้ตาบอด และเลือดออกจากเซลล์ เป็นอาวุธชีวภาพ ที่ออกแบบเพื่อฆ่ามนุษย์โดยตรง
        วันที่ 24 เมษายน 2554   ต.วังลึก อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี ชาวบ้านฮือฮาหลังมีน้ำสีเหลืองตกมาจากท้องฟ้าเป็นจำนวนมากและเป็นระยะเวลานานหลายเดือนส่งผลให้ไม่กล้านำเสื้อผ้าหรือสิ่งของ โดยเฉพาะของกินมาวางบริเวณกลางแจ้ง เกรงว่า  หยดน้ำสีเหลืองที่ตกลงมาจะส่งผลให้ได้รับอันตราย รวมทั้งต้องการให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเข้ามาตรวจสอบ
        ทุกสิ่งบนโลกล้วนตกลงสู่พื้นโลก เนื่องจากอยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก แรงโน้มถ่วงเกิดมาจากมวลดึงดูดซึ่งกันและกัน เมื่อเราเข้าไปอยู่ใต้โลก แรงดึงดูดของมวลที่เกิดขึ้นบนศีรษะจะหักลบกับมวลที่อยู่ใต้เท้า เหลือเท่าไหร่ก็เป็นแรงโน้มถ่วง

"ฝนเหลือง" (Agent Orange)
ที่มาภาพ : https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/supinya/bend/bend-1.gif

เนื้อหาสาระ
        สาระการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
        มาตรฐานการเรียนรู้ ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า  แรงโน้มถ่วง  และแรงนิวเคลียร์  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
        ตัวชี้วัด ม. 4-6/1 ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วงและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

แรงโน้มถ่วงของโลก
        ความโน้มถ่วง (อังกฤษ: gravity) หรือ แรงโน้มถ่วง (อังกฤษ: gravitational force) ในทางฟิสิกส์ คือแรงที่กระทำระหว่างมวล แรงโน้มถ่วงเป็นหนึ่งในสี่แรงหลัก ซึ่งประกอบด้วย แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน และ แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม ในจำนวนแรงทั้งสี่แรงหลัก แรงโน้มถ่วงมีค่าน้อยที่สุด ถึงแม้ว่าแรงโน้มถ่วงจะเป็นแรงที่เราไม่สามารถรับรู้ได้มากนักเพราะความเบาบางของแรงที่กระทำต่อเรา แต่ก็เป็นแรงเดียวที่ยึดเหนี่ยวเราไว้กับพื้นโลก แรงโน้มถ่วงมีความแรงแปรผันตรงกับมวล ไม่มีการลดทอนหรือถูกดูดซับเนื่องจากมวลใดๆ ทำให้แรงโน้มถ่วงเป็นแรงที่สำคัญมากในการยึดเหนี่ยวเอกภพไว้ด้วยกัน


ที่มา : https://youtu.be/YKZ6DFNSyjM


ที่มา : https://youtu.be/k49AriZ9FZM

ประเด็นคำถามเพื่อนำไปสู่การอภิปรายในห้องเรียน
        1. ใครเป็นผู้ค้นพบแรงโน้มถ่วงของโลก
        2. กิจกรรมใดบ้างเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วง
        3. ประโยชน์ของแรงโน้มถ่วง

กิจกรรมเสนอแนะ
        1. ทำกิจกรรมทดลองเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงของโลก
        2. สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ

การบูรณาการกับสาระอื่นๆ
        1. การงานอาชีพและ เทคโนโลยี  : ทำสาระคดีเกี่ยวกับฝนหลวง การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
        2. ศิลปะ : วาดภาพจินตนาการวิทยาศาสตร์
        3. คณิตศาสตร์ : พื้นฐานการคำนวณ

อ้างอิงแหล่งที่มาเพิ่มเติม
        1. https://www.youtube.com/watch?v=k49AriZ9FZM&feature=related

        2. https://www.youtube.com/watch?v=YKZ6DFNSyjM
        3. https://www.job1hit.com/news/4066/
        4. https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi5/yellowrain/rainn.htm
        5. https://www.koratdailynews.com
        6. https://www.thaifighterclub.orgf
        7. https://th.wikipedia.org

 
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3784

อัพเดทล่าสุด