https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
ดาวศุกร์ผ่านดวงอาทิตย์ MUSLIMTHAIPOST

 

ดาวศุกร์ผ่านดวงอาทิตย์


603 ผู้ชม


รอบ 105 ปี   
ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ พ.ศ. 2547 ภาพจำลองดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ เช้าวันที่ 6 มิถุนายน 2012 ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์[1] (Transit of Venus) เป็นปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ที่เกิดขึ้นเมื่อดาวศุกร์เคลื่อนที่ผ่านแนวเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ คนบนโลกจะเห็นดาวศุกร์เป็นดวงกลมดำขนาดเล็กเคลื่อนที่ผ่านดวงอาทิตย์ การผ่านหน้าคล้ายกับสุริยุปราคาที่เกิดจากดวงจันทร์บดบังดวงอาทิตย์ ต่างกันตรงที่ดาวศุกร์อยู่ห่างจากโลกมากกว่าดวงจันทร์ (แม้ว่าจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า) เราจึงมองเห็นดาวศุกร์มีขนาดเล็กมาก ในอดีตนักดาราศาสตร์ใช้ปรากฏการณ์นี้ในการวัดระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์โดยอาศัยการเกิดแพรัลแลกซ์ เจเรไมอาห์ ฮอร์รอกส์ นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษเป็นคนแรกที่ได้คำนวณและสังเกตเห็นการเคลื่อนตัวในวงโคจรของดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ดังกล่าวเมื่อเวลาตั้งแต่ 15.15 น. จนดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2182[2] ดวงศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ครั้งต่อไปมีให้เห็นได้ทั่วประเทศไทยในตอนเช้าวันที่ 6 มิถุนายน 2555 [แก้]อ้างอิง ^ นิพนธ์ ทรายเพชร. "ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ (Transit of Venus)" (ในภาษาไทย). จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ 14 ฉบับที่ 157, มิถุนายน 2547. ราชบัณฑิตยสถาน. https://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1046. เรียกข้อมูลเมื่อ 30 มกราคม 2555. ^ Paul Marston (2004). Jeremiah Horrocks - young genius and first Venus transit observer. University of Central Lancashire, 14–37. [แก้]แหล่งข้อมูลอื่น Transits of Venus, Six Millennium Catalog: 2000 BCE to 4000 CE HM Nautical Almanac Office, Transits of Venus 1000 AD - 2700 AD [https://skyandtelescope.com/observing/objects/sun/article_1187_1.asp Reanimating the 1882 Transit of Venus, in Sky and Telescope June 5/6, 2012: Venus Transit Transit of Venus Transit of Venus ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์: 8 มิถุนายน 2547 หมวดหมู่: ดาวศุกร์มาตรดาราศาสตร์ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ทุกระดับชั้น และททุกท่านที่สนใจ ประเด็นคำถามเพื่อนำไปสู่การอภิปรายในชั้นเรียน นักเรียนมีความรู้เรื่องดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์หรือไม่ กิจกรรมเสนอแนะ นักเรียนควรศึกษาข้อมูลจากห้องสมุดและข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต การบูรณาการ ภาษาไทย อ่านออกเสียง อ่านคำยาก อ่านจับใจความ ศิลป วาดภาพ ที่มาแหล่งข้อมูลhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=4662

อัพเดทล่าสุด