https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
การประยุกต์ใช้ระบบการบริหารความสามารถเชิงสมรรถนะ MUSLIMTHAIPOST

 

การประยุกต์ใช้ระบบการบริหารความสามารถเชิงสมรรถนะ


775 ผู้ชม


การประยุกต์ใช้ระบบการบริหารความสามารถเชิงสมรรถนะ




การประยุกต์ใช้ระบบการบริหารความสามารถเชิงสมรรถนะ

 

 

 

มีคำถามมากมายว่า ถ้าหากจะทำงานประยุกต์ใช้ระบบความสามารถเชิงสมรรถนะในองค์กรจำเป็นต้องใช้ทั่วทั้งองค์กร หรือบางส่วนขององค์กร ในความเป็นจริงมี 2 วิธีใหญ่ๆ คือ

วิธีที่ 1 :  ประยุกต์ใช้ทั่วทั้งองค์กร (Organization Wide)  หมายถึง ประยุกต์ใช้ทุกหน่วยงาน ทุกตำแหน่ง

ภาพ : การประยุกต์ใช้ความสามารถเชิงสมรรถนะทั่วทั้งองค์กร (Organization Wide)

วิธีที่ 2 :  ประยุกต์ใช้บางส่วน (Pilot Size)  การประยุกต์ใช้บางส่วนมี 3 มิติ คือ
1.)  การประยุกต์ใช้เฉพาะตำแหน่งจัดการขึ้นไปได้ ในหลายองค์การเลือกวิธีนี้ก็เพราะว่าตำแหน่งจัดการถือเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนองค์กร

2. ) การประยุกต์ใช้เฉพาะหน่วยงาน หมายถึง การเลือกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับลูกค้าโดยตรงเพราะว่าต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรมจากการประยุกต์ใช้ระบบนี้หน่วยงานดังกล่าว เช่น ฝ่ายการตลาด ฝ่ายสินเชื่อ และฝ่ายขายเป็นต้น
ภาพ : การประยุกต์ใช้ความสามารถเชิงสมรรถนะเฉพาะหน่วยงาน
Key Unit : Any Function
                                                                   : All Position

การประยุกต์ใช้ระบบการบริหารความสามารถเชิงสมรรถนะ

3)  การประยุกต์ใช้ระบบผสม (Hybrid Approach)  หมายถึง การผสานกันระหว่างตำแหน่งจัดการ กับหน่วยงานนำร่อง กล่าวคือ ประยุกต์ใช้กับตำแหน่งจัดการทุกระดับในองค์กร ในขณะเดียวกันในหน่วยงานนำร่องจะใช้กับทุกตำแหน่ง  (ภาพประกอบ)

ภาพ :  การประยุกต์ใช้ความสามารถเชิงสมรรถนะแบบผสม

Hybrid Approach

เมื่อเปรียบเทียบข้อดี/ ข้อเสียทั้ง 2 วิธี จะพบข้อแตกต่างต่อไปนี้

อ้างอิง :  การพัฒนาความสามารถเชิงสมรรถนะ
โดย : ดร. เกริกเกียรติ  ศรีเสริมโภค  Ph.D.

อัพเดทล่าสุด