https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
การพัฒนาแผนบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ในทางปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 : การระบุประเด็นด้านทรัพยากรบุคคลที่กำลังดำเนินอยู่ MUSLIMTHAIPOST

 

การพัฒนาแผนบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ในทางปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 : การระบุประเด็นด้านทรัพยากรบุคคลที่กำลังดำเนินอยู่


569 ผู้ชม


การพัฒนาแผนบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ในทางปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 : การระบุประเด็นด้านทรัพยากรบุคคลที่กำลังดำเนินอยู่




การพัฒนาแผนบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ในทางปฏิบัติ  

ขั้นตอนที่ 3 : การระบุประเด็นด้านทรัพยากรบุคคลที่กำลังดำเนินอยู่

               

ในขั้นตอนนี้ จะต้องระบุประเด็นด้านทรัพยากรบุคคลที่กำลังดำเนินอยู่ ซึ่งหมายถึงการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ไม่ได้เชื่อมโยงกับวัตถุประสงค์ทางกลยุทธ์ เพราะว่าประเด็นเหล่านี้อาจจะมีผลกระทบต่อขวัญ และผลสัมฤทธิ์ขององค์กร

               

วิธีดำเนินการ

 

-    ระบุประเด็นทรัพยากรบุคคลที่กำลังดำเนินอยู่ และมีผลกระทบต่อองค์กรประเด็นดังกล่าวอาจสัมพันธ์กับ การวางแผน

     กำลังคน การสรรหา การบริหารผลงาน การฝึกอบรมและพัฒนา และแรงงานสัมพันธ์

ทำอย่างไร

 

1.   สัมภาษณ์ วิธีการสัมภาษณ์เป็นวิธีการที่ดีสำหรับการพัฒนาแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ โดยประเด็นของ

     การสัมภาษณ์จะต้องครอบคลุมกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลในปัจจุบัน เช่น การวางแผนอัตรากำลังคน การ

     สรรหา การบริหารผลงาน การฝึกอบรมและพัฒนา และแรงงานสัมพันธ์

2.   ดำเนินการจัดสัมมนากลุ่มย่อย ซึ่งถือว่าเป็นเทคนิคที่ดีสำหรับการระบุลำดับความสำคัญของประเด็นด้านทรัพยากร

     บุคคลในกลุ่มบุคลากรที่แตกต่างกัน

3.   ทำการสำรวจความคิดเห็นของบุคลากร เพื่อเป็นการประเมินทัศนคติของบุคลากรที่มีต่อการบริหารทรัพยากรบุคคลของ

      องค์กร และนำข้อมูลจากการสำรวจไปในการวางแผนทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ด้วย แต่สิ่งที่ต้องคำนึงสำหรับเทคนิค

      นี้ก็คือจะใช้เวลาในการดำเนินการค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับเทคนิคอื่นๆ  


 
อ้างอิง :  การพัฒนาความสามารถเชิงสมรรถนะ
โดย : ดร. เกริกเกียรติ  ศรีเสริมโภค  Ph.D.


อัพเดทล่าสุด