https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
การฟ้องคดี ต้องเลือกใช้สิทธิ ทางใดทางหนึ่ง MUSLIMTHAIPOST

 

การฟ้องคดี ต้องเลือกใช้สิทธิ ทางใดทางหนึ่ง


383 ผู้ชม


การฟ้องคดี ต้องเลือกใช้สิทธิ ทางใดทางหนึ่ง





ฎีกาที่ 238/2545 (มาตรา123,124,125)

          ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ มาตรา 123 ถึง 125 มีลักษณะกำหนดให้ลูกจ้างจะต้องเลือกใช้สิทธิทางใดทางหนึ่ง ระหว่างใช้สิทธิฟ้องคดีต่อศาลแรงงาน หรือจะยื่นคำร้องต่อพนักงานตรวจแรงงานขอให้บังคับจำเลยจ่ายค่าชดเชย การที่โจทก์ยื่นคำร้องต่อพนักงานตรวจแรงงานขอให้บังคับจำเลยจ่ายค่าชดเชยสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ค่าจ้างค้างจ่ายและคาจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปี อันเป็นเงินตามสิทธิใน พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ แล้ว ถือว่าโจทก์เลือกใช้สิทธิที่จะดำเนินการต่อจำเลยด้วยการยื่นคำร้องต่อพนักงานตรวจแรงงาน โจทก์จึงไม่มีสิทธิที่จะนำคดีไปฟ้องต่อศาลแรงงานอีก จนกว่าการดำเนินการของพนักงานตรวจแรงงานจะสิ้นสุดลง เมื่อปรากฏว่าระหว่างที่พนักงานตรวจแรงงานพิจารณาคำร้องชองโจทก์ โจทก์ได้นำมูลกรณีเลิกจ้างอันเดียวกันนี้ไปฟ้องจำเลยต่อศาลแรงงานอีก ศาลแรงงานจึงไม่มีอำนาจพิจารณาคำฟ้องของโจทก์ที่ฟ้องเงินตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ ดังกล่าว

          การที่โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมนั้น เป็นการฟ้องเรียกตามสิทธิใน พ.ร.บ. จัดตังศาลแรงงานและวิธีพิจารณาแรงงานฯ มาตรา 49 มิใช่ฟ้องตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานฯ ศาลแรงงานจึงมีอำนาจพิจารณาพิพากษาในส่วนนี้ได้

ที่มา : สมบัติ ลีกัล

อัพเดทล่าสุด