https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
ฎีกาแรงงาน คำพิพากษา คดีแรงงาน ต่างๆที่น่าสนใจ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ : มาตรา ๕๒ MUSLIMTHAIPOST

 

ฎีกาแรงงาน คำพิพากษา คดีแรงงาน ต่างๆที่น่าสนใจ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ : มาตรา ๕๒


452 ผู้ชม


พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ : มาตรา ๕๒




คำพิพากษาฎีกาที่ ๗๑๗๔–๗๑๘๕/๒๕๔๒ ลูกจ้างได้รับค่าจ้างอัตราสุดท้ายเดือนละ ๑๒,๑๕๐ บาท แต่ศาลแรงงานกลางพิพากษาให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างเป็นจำนวน ๗๒,๙๐๐ บาท ซึ่งเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง ทั้งไม่ปรากฏเหตุที่ศาลแรงงานเห็นสมควรเพื่อความเป็นธรรมแก่คู่ความ จึงไม่ชอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๒ ดังนั้น เมื่อลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชยเพียงจำนวน ๓๖,๔๕๐ บาท แม้นายจ้างอุทธรณ์ยอมรับว่าลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชยจำนวน ๔๐,๕๐๐ บาทก็ตาม แต่เมื่อลูกจ้างมีสิทธิได้ค่าชดเชยตามกฎหมายเพียงจำนวนดังกล่าว ศาลก็ต้องพิพากษาให้ตามที่ลูกจ้างมีสิทธิเท่านั้น

อัพเดทล่าสุด