https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
กรณี ที่ทำให้ สัญญาจ้างแรงงาน เป็นโมฆะ MUSLIMTHAIPOST

 

กรณี ที่ทำให้ สัญญาจ้างแรงงาน เป็นโมฆะ


1,062 ผู้ชม


กรณี ที่ทำให้ สัญญาจ้างแรงงาน เป็นโมฆะ




 เหตุของความบกพร่องของการแสดงเจตนา

ความบกพร่องของการแสดงเจตนาที่ทำให้สัญญาจ้างแรงงานหรือข้อตกลงในสัญญาดังกล่าวเป็นโมฆะ เกิดขึ้นจากเหตุที่มีการแสดงเจตนาเกินกรอบหรือขอบเขต ของการแสดงเจตนาดังที่ได้กล่าวมาแล้วในข้างต้น ตัวอย่างเช่น การจ้างหญิงหรือซื้อเด็กหญิงมาขายบริการทางเพศ การจ้างเด็กมาส่งยาบ้าให้แก่ลูกค้า หรือมาทำงานต้องห้ามตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน การจ้างเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์เข้ามาเป็นลูกจ้าง การจ้างลูกจ้างทำงานขายวัตถุโบราณหรือค้าไม้เถื่อน หรือการจ้างลูกจ้างทำงานโดยตกลงจ่ายค่าจ้างน้อยกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ  การทำสัญญาจ้างแรงงาน โดยมีข้อตกลงว่าลูกจ้างจะไม่เรียกร้องค่าชดเชยหรือมีข้อตกลงให้ลูกจ้างทำงานเกินเวลาทำงานปกติโดยไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา เป็นต้น

ซึ่งโดยปกติแล้วความบกพร่องดังกล่าว จะทำให้สัญญาจ้างแรงงานเป็นโมฆะทั้งหมด แต่หากมีกรณีที่พึงสันนิษฐานได้โดยพฤติการณ์แห่งกรณีว่า คู่กรณีได้เจตนาจะให้ส่วนที่สมบูรณ์นั้นแยกออกจากส่วนที่ไม่สมบูรณ์ได้ ความโมฆะ ก็จะเกิดขึ้นเฉพาะที่เกินกรอบหรือขอบเขตของการแสดงเจตนา (มาตรา 173 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์)

เนื้อหา  : รศ.ดร.วิจิตรา  วิเชียรชม


อัพเดทล่าสุด