https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
ทฤษฎีความเสมอภาค (Equity Theory) โดย JS Adams (1965) MUSLIMTHAIPOST

 

ทฤษฎีความเสมอภาค (Equity Theory) โดย JS Adams (1965)


4,628 ผู้ชม


ทฤษฎีความเสมอภาค (Equity Theory) โดย JS Adams (1965)

 

 

Adam  ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับความพอใจของคนงานเกี่ยวกับการจ่ายค่าตอบแทนว่า เกี่ยวข้องกับระดับของการเรียนรู้ (Perceptions) ว่าในอัตราระหว่างสิ่งที่เขาได้รับจากงาน (Out Put)  กับสิ่งที่เขาอุทิศให้ในการทำงานนั้น (In Put)  เหมาะสมเสมอภาคกันหรือไม่ทฤษฎีความเสมอภาคนี้ จะเป็นสิ่งที่ความรู้สึกและมองในเชิงเปรียบเทียบ ความรู้สึก (Feeling) หรือการรับรู้ (Perceptions) ของแต่ละบุคคลจะเกิดขึ้นจากการที่บุคคลนั้นประเมินศักยภาพในการทำงานของตนกับค่าจ้างที่ได้รับ และแน่นอน ความรู้สึกเหล่านี้ย่อมได้รับอิทธิพลจากบรรทัดฐาน (Norms)  ภายในองค์การ และกลุ่มวิชาชีพด้วย ซึ่งความรู้สึกว่าตนเองได้รับความเสมอภาคหรือไม่เสมอภาคเมื่อเปรียบเทียบกับคนอื่น สามารถเข้าใจได้จากตารางดังนี้

ตารางแสดงทฤษฎีความเสมอภาค
 
ตารางเปรียบเทียบอัตราการรับรู้
การประเมินของพนักงาน ก.
สิ่งที่ ก. ได้รับ       OA  <      สิ่งที่ ข. ได้รับ OB
สิ่งที่ ก. อุทิศ        IA           สิ่งที่ ข. อุทิศให้ IB
สิ่งที่ ก. ได้รับ      OP   <     สิ่งที่ ข. ได้รับ OB
สิ่งที่ ก. อุทิศให้    IA           สิ่งที่ ข. อุทิศให้ IB
สิ่งที่ ก.ได้รับ       OP   <      สิ่งที่เขาได้รับ OB  
สิ่งที่ ก. อุทิศให้   IA             สิ่งที่ ข . อุทิศให้ IB
ความไม่เสมอภาค
(ได้รับค่าตอบแทนต่ำกว่าปกติ)
ความเสมอภาค
ความไม่เสมอภาค
(ได้รับค่าตอบแทนสูงกว่าปกติ)

อัพเดทล่าสุด