https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
Human resource development in Europe MUSLIMTHAIPOST

 

Human resource development in Europe


534 ผู้ชม


Human resource development in Europe




 

https://www.b.shuttle.de/wifo/ehrd/areas.htm

คำอธิบาย   Model    human resource development in Europe และข้อเสนอแนะในการนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมสำหรับองค์การ                 

1.   กำลังคนในระบบเศรษฐกิจเป็นความรับผิดชอบร่วมระหว่างระบบการศึกษา และการบริหารแรงงานในภาคธุรกิจ / องค์การ    

            

2.    พื้นฐานความรับผิดชอบรวมกันตามข้อ 1 คือ     การพัฒนา Competency    (รวม Skill และ Knowledge ไว้แล้ว) ร่วมกัน ซึ่งมีทิศทางเน้นทรัพยากรบุคคลทั้งองค์กร (ไม่ใช่เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่เป็น Trainees เท่านั้น) ด้วยวิธีการพัฒนาที่เรียกว่า Work – Based Learning หรือ Work Related Learning    หมายถึง    ไม่ได้แยกการเรียนออกจากการปฏิบัติงาน แต่เป็นการเรียนรู้ในการทำงานนั่นเอง   

             

3.   ดังนั้นเพื่อสนับสนุนการพัฒนา Competency ตามข้อ 2 องค์การและสังคมจึงต้องการ การจัดการความรู้ (KM) หมายถึง การทำให้ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร Flow และโดยที่ทรัพยากรบุคคลสามารถเข้าถึงได้ Sharing ได้ สร้างบริบทอื่นที่เป็นวัฒนธรรมให้เกิดการเรียนรู้

                

4.   รูปแบบการพัฒนาด้วย KM ตามข้อ 3 ยังไม่เพียงพอ องค์การต้องการการพัฒนาเฉพาะกลุ่มงาน/ตำแหน่งงาน/สายวิชาชีพเฉพาะ ให้มีความต่อเนื่องและเป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับอนาคต ซึ่งอาจต้องทำในรูป   Succession Development หรือ Talent Management   ก็ตาม (ซึ่งใน Model นี้ใช้คำว่า CVT)   การพัฒนาในลักษณะนี้ต้องได้รับการออกแบบพิเศษระบบการตอบแทนผลการพัฒนานี้ ในรูปแบบที่เป็นพิเศษออกต่างหาก เช่น ความก้าวหน้าในตำแหน่งงานและผลตอบแทนอื่นๆ  

               

 5.  ระบบทั้งหมดข้างต้น เป็นความรับผิดชอบของ HRD ร่วมกับ Management ที่จะทำให้บังเกิดผลขึ้นในองค์การ 

โดย ฐิติวรรณ สินธุ์นอก


อัพเดทล่าสุด