https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
สาระสำคัญของกฎหมาย อื่นๆ สรุปหลักกฎหมายลิขสิทธิ์ MUSLIMTHAIPOST

 

สาระสำคัญของกฎหมาย อื่นๆ สรุปหลักกฎหมายลิขสิทธิ์


1,291 ผู้ชม


สาระสำคัญของกฎหมาย อื่นๆ
สรุปหลักกฎหมายลิขสิทธิ์

พุธ ที่ 2 เดือน กรกฏาคม พ.ศ.2551
 

 กฎหมายให้ความคุ้มครองผู้สร้างสรรค์งานด้วยตนเอง กล่าวคือผู้ที่มิได้ทำซ้ำหรือดัดแปลงงานอันมีลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต เช่น การที่เราถ่ายภาพวัดพระแก้ว ภาพถ่ายที่ได้มาดังกล่าวถือเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ของเราเอง การที่มีบุคคลอื่นไปถ่ายรูปวัดพระแก้วบ้างรูปถ่ายดังกล่าวก็เป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลนั้นด้วยเช่นกัน เพราะเป็นงานอันเกิดจากการสร้างสรรค์งานของตนเอง
          งานสร้างสรรค์ที่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ นั้น ได้แก่ งานประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่นใดในประเภทงานวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ


          ผู้สร้างสรรค์งานได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ทันทีที่มีการสร้างสรรค์งานขึ้น โดยมิต้องไปจดทะเบียนการได้มาซึ่งสิทธิในลิขสิทธิ์ นอกจากการได้ลิขสิทธิ์มาด้วยการสร้างสรรค์ด้วยตนเอง ยังอาจได้มาด้วยการรับโอนลิขสิทธิ์จากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์โดยทางนิติกรรมหรือทางมรดกได้อีกด้วย


          ผู้ที่เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานสร้างสรรค์ของตนย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายแต่เพียงผู้เดียวในการทำซ้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่งานอันมีลิขสิทธิ์ของตน หากมีผู้ใดกระทำการดังกล่าวโดยมิได้รับอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ถือว่าบุคคลดังกล่าวกระทำการละเมิดลิขสิทธิ์ซึ่งมีความรับผิดตามกฎหมาย นอกจากนี้ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ฯ ยังได้กำหนดให้นักแสดงมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการกระทำอันเกี่ยวกับการแสดงของตน เช่น การแพร่เสียงแพร่ภาพ บันทึกการแสดงของตนที่ยังมิได้มีการบันทึกไว้แล้ว หรือทำซ้ำสิ่งบันทึกการแสดงที่มีผู้บันทึกไว้ ซึ่งหากมีบุคคลใดกระทำการดังกล่าว โดยมิได้รับอนุญาตจากนักแสดงก่อนย่อมถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ของนักแสดงอันมีความรับผิดตามกฎหมาย

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง : พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา  


เข้าชม : 5382
 

สาระสำคัญของกฎหมาย อื่นๆ 5 อันดับล่าสุด
     สาระสำคัญของกฎหมาย อื่นๆ สรุปหลักกฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายจราจรที่ควรทราบ [อัตราค่าปรับ ] 17 / ก.ย. / 2551
     สาระสำคัญของกฎหมาย อื่นๆ สรุปหลักกฎหมายลิขสิทธิ์ สรุปหลักกฎหมายลิขสิทธิ์ 2 / ก.ค. / 2551
     สาระสำคัญของกฎหมาย อื่นๆ สรุปหลักกฎหมายลิขสิทธิ์ พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.2545 2 / พ.ค. / 2551
     สาระสำคัญของกฎหมาย อื่นๆ สรุปหลักกฎหมายลิขสิทธิ์ คนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ ในรัฐไทย 8 / เม.ย. / 2551

ความคิดเห็นที่ 1
พุธ ที่ 9 เดือน กรกฏาคม พ.ศ.2551 เวลา 14:28:56
 
ขอบคุณ
 
โดย : kamppojoo    ไอพี : 222.123.223.69

ความคิดเห็นที่ 2
พุธ ที่ 16 เดือน กรกฏาคม พ.ศ.2551 เวลา 12:23:09
 
thank
 
โดย : jane_thasana@hotmail.com    ไอพี : 202.57.177.143

ความคิดเห็นที่ 3
เสาร์ ที่ 19 เดือน กรกฏาคม พ.ศ.2551 เวลา 12:53:24
 
thank
 
โดย : surachaiofflaw_kk@hotmail.com    ไอพี : 125.26.155.216

ความคิดเห็นที่ 4
เสาร์ ที่ 26 เดือน กรกฏาคม พ.ศ.2551 เวลา 10:48:39
 
ขอบคุณมาก
 
โดย : poonjitaree@yahoo.com    ไอพี : 58.8.168.149

ความคิดเห็นที่ 5
ศุกร์ ที่ 1 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2551 เวลา 19:38:19
 
-ขอบคุณมากที่มีน้ำใจให้เพื่อน-
 
โดย : dragongoly@hotmail.com    ไอพี : 124.157.213.250

ความคิดเห็นที่ 6
พุธ ที่ 6 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2551 เวลา 20:23:36
 
ขอบคุณมากๆ ครับ
 
โดย : tpcoch    ไอพี : 118.175.161.54

ความคิดเห็นที่ 7
พุธ ที่ 27 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2551 เวลา 09:00:51
 
ขอบคุณ
 
โดย : toy    ไอพี : 222.123.158.28

ความคิดเห็นที่ 8
อังคาร ที่ 9 เดือน กันยายน พ.ศ.2551 เวลา 12:58:13
 
ขอบคุณ
 
โดย : S_yot@hotmail.com    ไอพี : 203.147.4.69

ความคิดเห็นที่ 9
พฤหัสบดี ที่ 29 เดือน มกราคม พ.ศ.2552 เวลา 16:03:35
 
thank
 
โดย : komrop@mail.excise.go.th    ไอพี : 10.2.6.108

ความคิดเห็นที่ 10
จันทร์ ที่ 2 เดือน มีนาคม พ.ศ.2552 เวลา 13:32:33
 
ขอบคุณครับ
 
โดย : thanatip2008@hotmail.com    ไอพี : 125.27.251.159

ความคิดเห็นที่ 11
เสาร์ ที่ 14 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2552 เวลา 00:56:27
 
ขอรบกวนท่านผู้รู้ช่วยตอบหน่อยค่ะ...
การละเมิดลิขสิทธิ์หนังสือ...
เนื่องจากมีการตั้งชื่อหนังสือ ซ้ำกัน เล่มแรก พิมพ์ตั้งแต่ปี 2546-ปัจจุบัน และยังวางจำหน่ายอยู่..
ต.ค.52 มีอีกสำนักพิมพ์ ตั้งชื่อหนังสือซ้ำกัน กับเรา...
ได้สอบถามไปทางกรม เขา บอกว่า กม. ไม่คุ้มครองเรื่องชื่อ
ไม่ทราบว่าเราจะฟ้องร้อง การละเมิดในทางแพ่งได้หรือไม่
และจะทำเช่นไร มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดี สักประมาณเท่าไร ค่ะ...
 
โดย : นฤมล    ไอพี : 58.9.54.121

ความคิดเห็นที่ 12
จันทร์ ที่ 30 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2552 เวลา 22:34:40
 
การที่นายเอกได้รับบาดเจ็บที่มือแต่ได้ขอให้นายโทช่วยเขียนกฎหมายบทความทางกฎหมายตามคำบอกให้ ต่อมานายโทเอาบทความดังกล่าวนั้นไปขายให้นางตรี ซึ่งเป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ง นายเอกทราบจึงกล่าวหาว่านายโทละเมิดลิขสิทธิ์ของตน นายโทอ้างว่าตนไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์เนื่องจากตนเป็นผู้สร้างสรรค์งานดังกล่าว ให้วินิจฉัยว่า คำกล่าวอ้างของนายโทฟังขึ้นหรือไม่อย่างไร
 
โดย : supachai_5012@hotmail.com    ไอพี : 180.183.96.69

ความคิดเห็นที่ 13
จันทร์ ที่ 11 เดือน มกราคม พ.ศ.2553 เวลา 13:06:32
 
เอาใจช่วยทุกท่านน่ะขอรับ
 
โดย : เตมูจิน    ไอพี : 125.26.133.184

อัพเดทล่าสุด