https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
:บทนิยาม มาตรา 1-9 MUSLIMTHAIPOST

 

:บทนิยาม มาตรา 1-9


706 ผู้ชม


:: พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตราที่ 1-9
:บทนิยาม มาตรา 1-9
:: บทนิยาม
:บทนิยาม มาตรา 1-9
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า "พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518"
:บทนิยาม มาตรา 1-9
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
:บทนิยาม มาตรา 1-9
มาตรา 3 ให้ยกเลิกข้อ 4 และข้อ 11 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2515
:บทนิยาม มาตรา 1-9
มาตรา 4 พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (1) ราชการส่วนกลาง
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (2) ราชการส่วนภูมิภาค
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (3) ราชการส่วนท้องถิ่นรวมทั้งราชการของกรุงเทพมหานครและเมือง พัทยา
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (4) กิจการรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (5) กิจการอื่นตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
:บทนิยาม มาตรา 1-9 *หมายเหตุ:- มาตรานี้ให้ยกเลิกความในมาตราต่อไปนี้ และให้ใข้ข้อความ ต่อไปนี้แทนใน มาตรา 3 ของพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติแรงงาน สัมพันธ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534 ประกาศในราชกิจจาฯ (ฉบับพิเศษ) เล่ม 108 ตอนที่ 69 ลงวันที่ 18 เมษายน พ.ศ.2534
:บทนิยาม มาตรา 1-9
มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "นายจ้าง" หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงรับลูกจ้างทำงานโดยจ่ายค่าจ้าง ให้และหมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากนายจ้างให้ทำการแทน ใน กรณีที่นายจ้างเป็นนิติบุคคลหมายความว่า ผู้มีอำนาจกระทำการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้มีอำนาจกระทำการแทน นิติบุคคลให้ทำการแทน
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "ลูกจ้าง" หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงทำงานให้แก่นายจ้างเพื่อรับค่าจ้าง
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "สภาพการจ้าง" หมายความว่า เงื่อนไขการจ้างหรือการทำงาน กำหนดวันและเวลาทำงาน ค่าจ้าง สวัสดิการการเลิกจ้าง หรือประโยชน์อื่น ของนายจ้างหรือลูกจ้างอันเกี่ยวกับการจ้างหรือการทำงาน
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง" หมายความว่า ข้อตกลงระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง หรือระหว่างนายจ้างหรือสมาคมนายจ้างกับสหภาพ แรงงานเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "ข้อพิพาทแรงงาน" หมายความว่า ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับ ลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "การปิดงาน" หมายความว่า การที่นายจ้างปฏิเสธไม่ยอมให้ลูกจ้าง ทำงานชั่วคราวเนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "การนัดหยุดงาน" หมายความว่า การที่ลูกจ้างร่วมกันไม่ทำงาน ชั่วคราวเนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "สมาคมนายจ้าง" หมายความว่า องค์การของนายจ้างที่จัดตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัตินี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "สหภาพแรงงาน" หมายความว่า องค์การของลูกจ้างที่จัดตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัตินี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "สหพันธ์นายจ้าง" หมายความว่า องค์การของสมาคมนายจ้างตั้งแต่ สองสมาคมขึ้นไปที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "สหพันธ์แรงงาน" หมายความว่า องค์การของสหภาพแรงงานตั้งแต่ สองสหภาพขึ้นไปที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "นายทะเบียน" หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน" หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "อธิบดี" หมายความว่า อธิบดีกรมแรงงาน
:บทนิยาม มาตรา 1-9 "รัฐมนตรี" หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9
มาตรา 6 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราช บัญญัตินี้ และให้มีอำนาจดังต่อไปนี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (1) แต่งตั้งนายทะเบียน พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน และผู้ ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (2) ออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ การแต่งตั้งตาม (1) ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษากฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
:บทนิยาม มาตรา 1-9
มาตรา 7 ให้จัดตั้งสำนักงานทะเบียนกลางขึ้นในกรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมการจดทะเบียนสมาคม นายจ้าง สหภาพ แรงงาน สหพันธ์นายจ้างและสหพันธ์แรงงาน ทั่วราช อาณาจักร และทำหน้าที่เป็นสำนักงานทะเบียนประจำกรุงเทพมหานครด้วย
:บทนิยาม มาตรา 1-9 ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร รัฐมนตรีจะจัดตั้งสำนักงาน ทะเบียนประจำจังหวัดขึ้นตรงต่อสำนักงานทะเบียนกลางก็ได้
:บทนิยาม มาตรา 1-9
มาตรา 8 ให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ขึ้นใน กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (1) ดำเนินการสอบสวนข้อเท็จจริงเบื้องต้น เกี่ยวกับคำร้องและข้อ พิพาทแรงงาน
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (2) ดำเนินการให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (3) อำนาจหน้าที่อื่น
:บทนิยาม มาตรา 1-9
มาตรา 9 ให้จัดตั้งสำนักงานผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานขึ้นในกระทรวง มหาดไทยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (1) จัดทำบัญชีรายชื่อและคุณสมบัติ ของผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานเพื่อ เสมอให้คู่กรณีเลือกตั้ง
:บทนิยาม มาตรา 1-9 (2) ควบคุมและดำเนินการทางวิชาการ และธุรการเกี่ยวกับการชี้ขาด ข้อพิพาทแรงงาน
:บทนิยาม มาตรา 1-9

อัพเดทล่าสุด