https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 MUSLIMTHAIPOST

 

หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36


1,088 ผู้ชม


การปิดงานและการนัดหยุดงาน
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 34 ห้ามมิให้นายจ้างปิดงานหรือลูกจ้างนัดหยุดงานในกรณี ดัง ต่อไปนี้
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (1) เมื่อยังไม่มีการแจ้งข้อเรียกร้องต่ออีกฝ่ายหนึ่งตาม มาตรา
13 หรือได้แจ้งข้อเรียกร้องแล้ว แต่ข้อพิพาทแรงงานนั้นยังไม่เป็นข้อพิพาท แรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ตาม มาตรา 22 วรรคสาม
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (2) เมื่อฝ่ายซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามข้อตกลงตาม มาตรา
18 ได้ปฏิบัติ ตามข้อตกลง
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (3) เมื่อฝ่ายซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติ ตามข้อตกลงที่พนักงานประนอมข้อ พิพาทแรงงงานได้ไกล่เกลี่ยตาม มาตรา
22 วรรคสอง ได้ปฏิบัติตามข้อตกลง
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (4) เมื่อฝ่ายซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติ ตามคำชี้ขาดของผู้ชี้ขาดข้อพิพาท แรงงานซึ่งตั้งตาม มาตรา
25 หรือ มาตรา 26 ได้ปฏิบัติตามคำชี้ขาด
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (5) เมื่ออยู่ในระหว่างการพิจารณาวินิจฉัย ของคณะกรรมการแรงงาน สัมพันธ์หรือมีคำวินิจฉัยของรัฐมนตรี ตาม มาตรา
23 หรือคำชี้ขาดของคณะ กรรมการแรงงานสัมพันธ์ตาม มาตรา 24
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (6) เมื่ออยู่ในระหว่างการชี้ขาดของผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานซึ่งตั้งตาม มาตรา 25 หรือ มาตรา 26
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 ไม่ว่ากรณีจะเป็นประกาศใด ห้ามมิให้นายจ้างปิดงานหรือลูกจ้างนัด หยุดงานโดยมิให้แจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน และอีก ฝ่ายหนึ่งทราบล่วงหน้าเป็นเวลาอย่างน้อยยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่รับแจ้ง
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 35 ในกรณีที่รัฐมนตรีเห็นว่าการปิดงานหรือการนัดหยุดงานนั้น อาจทำให้เกิดความเสียหายแก่เศรษฐกิจของประเทศหรืออาจก่อให้เกิดความ เดือดร้อนแก่ประชาชน หรืออาจเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ หรืออาจ ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน ให้รัฐมนตรีมีอำนาจดังต่อไปนี้
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (1) สั่งให้นายจ้างซึ่งปิดงานรับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน และจ่ายค่าจ้าง ตามอัตราที่เคยจ่ายให้แก่ลูกจ้างนั้น
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (2) สั่งให้ลูกจ้างซึ่งนัดหยุดงานกลับเข้าทำงานตามปกติ
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (3) จัดให้บุคคลเข้าทำงานแทนที่ลูกจ้าง ซึ่งมิได้ทำงานเพราะการ ปิดงานหรือการนัดหยุดงาน นายจ้างต้องยอมให้บุคคลเหล่านั้นเข้าทำงานและ ห้ามมิให้ลูกจ้างขัดขวาง ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างแก่บุคคลเหล่านั้นตามอัตราที่ เคยจ่ายให้แก่ลูกจ้าง
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (4) สั่งให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ดำเนินการชี้ขาดข้อพิพาท แรงงาน
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 36 ในกรณีที่มีประกาศใช้กฎอัยการศึกตามกฎหมายว่าด้วยกฎ อัยการศึก หรือประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินตามกฎหมายว่าด้วยการบริหาร ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจา- นุเบกษาห้ามีให้นายจ้างปิดงาน หรือลูกจ้างนัดหยุดงาน ในเขตท้องที่ที่ได้ ประกาศใช้กฎอัยการศึกหรือประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั้งหมดหรือบางส่วนได้
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 ในกรณีที่มีการปิดงาน หรือการนัดงานอยู่ก่อนมีประกาศของรัฐมนตรี ตามวรรคหนึ่ง ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา สั่งให้นาย จ้างที่ปิดงาน รับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน หรือสั่งให้ลูกจ้างซึ่งนัดหยุดงานกลับ เข้าทำงานตามปกติภายในระยะเวลาที่รัฐมนตรีกำหนด
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 ประกาศของคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งจะยกเลิกเสียเมื่อใดก็ได้ โดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 37 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า "คณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ์" ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นอีก ไม่น้อยกว่าแปดคน แต่ไม่เกินสิบสี่คน ในจำนวนนั้นอย่างน้อยต้องมีกรรมการ ซึ่งเป็นฝ่ายนายจ้างสามคน และฝ่ายลูกจ้างสามคนให้รัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้ง ประธานกรรมการและกรรมการ
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 38 ให้ประธานกรรมการ และกรรมการตาม มาตรา 37 อยู่ใน ตำแหน่งคราวละสามปี ในวาระเริ่มแรกเมื่อครบกำหนดหนึ่งปี ให้ประธาน กรรมการและกรรมการพ้นจากตำแหน่งหนึ่งในสามโดยวิธีจับสลาก และเมื่อ ครบสองปีให้ประธานกรรมการหรือกรรมการที่เหลืออยู่พ้นจากตำแหน่งอีกหนึ่ง ในสามโดยวิธีจับสลาก
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 ในกรณีที่มีการแต่งตั้งประธานกรรมการ หรือกรรมการแทนประธาน กรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตาม มาตรา
39 (1) (2) (3) (5) (6) หรือ(7) ให้ได้รับแต่งตั้งแทนนั้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลือ อยู่ของประธานกรรมการกรรมการซึ่งตนแทน
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 39 นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระตาม มาตรา 38 ประธาน กรรมการ หรือกรรมการพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (1) ตาย
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (2) ลาออก
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (3) รัฐมนตรีให้ออก
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (4) พ้นจากตำแหน่งโดยการจับสลากตาม มาตรา
38 วรรคหนึ่ง
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (5) เป็นบุคคลล้มละลาย
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (6) เป็นคนไร้สามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ หรือ
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (7) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 40 การประชุมของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ต้องมีกรรมการ มาประชุมไม่น้อยกว่าห้าคนและต้องมีกรรมการซึ่งเป็นฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูก จ้างอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคน จึงจะเป็นองค์ประชุม แต่ถ้าเป็นการประชุมเพื่อ พิจารณาวินิจฉัยข้อพิพาทแรงงานตาม มาตรา 23 มาตรา 24 หรือ มาตรา 35 (4) ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด และต้องมีกรรมการ ซึ่งเป็นฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่ง คน จึงจะเป็นองค์ประชุม
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 ถ้าในการประชุมคราวใดประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม หรือไม่ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการด้วยกันคนหนึ่ง เป็นประธานในที่ประชุม
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 มติของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการตนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการ ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีก เสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 41 ให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (1) วินิจภัยข้อพิพาทแรงงานตาม มาตรา
23
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (2) ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานตาม มาตรา 24 หรือ มาตรา 35 (4)
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (3) ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานตามที่ได้รับแต่งตั้งหรือมอบหมาย
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (4) วินิจฉัยชี้ขาดคำร้องตาม มาตรา
125 และในกรณีที่คณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ์ชี้ขาดว่าเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม ให้มีอำนาจสั่งให้ นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าทำงานหรือให้จ่ายค่าเสียหาย หรือให้ผู้ฝ่าฝืนปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งได้ตามที่เห็นสมควร
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (5) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการเรียกร้อง การเจรจา การระงับข้อ พิพาทแรงงาน การนัดหยุดงานและการปิดงาน ตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (6) ตราข้อบังคับการประชุม และวางระเบียบการพิจารณาวินิจฉัยและ ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน และการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดการกระทำอันไม่เป็น ธรรม และการออกคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 42 คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ มีอำนาจแต่งตั้งคณะ อนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์เพื่อหาข้อเท็จจริง และเสนอความเห็นในเรื่องที่ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ มอบหมายเป็นการประจำหรือเฉพาะคราวได้
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 43 ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ ให้กรรมการแรงงานสัมพันธ์ หรืออนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์มีอำนาจ ดังต่อไปนี้
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (1) เข้าไปในสถานที่ทำงานของนายจ้าง สถานที่ที่ลูกจ้างทำงานอยู่ หรือสำนักงานของสมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์นายจ้าง หรือ สหพันธ์แรงงานในระหว่างเวลาทำการเพื่อสอบถามข้อเท็จจริงหรือตรวจสอบ เอกสารได้ตามความจำเป็น
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 (2) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลมาให้ถ้อยคำหรือให้ส่งสิ่งของหรือ เอกสารที่เกี่ยวข้องมา เพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการแรงงาน สัมพันธ์หรือคณะอนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36 ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องอำนวยความสะดวก ตอบหนังสือสอบถาม ชี้แจงข้อเท็จ จริง หรือส่งสิ่งของ หรือเอกสารที่เกี่ยวข้องแก่กรรมการแรงงานสัมพันธ์หรือ อนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์ดังกล่าวในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
มาตรา 44 กรรมการแรงงานสัมพันธ์หรืออนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์ จะมีหนังสือเชิญผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิมาแสดงความคิดเห็น ในเรื่องที่ เกี่ยวข้องก็ได้
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36

อัพเดทล่าสุด