https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 MUSLIMTHAIPOST

 

บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104


722 ผู้ชม


   
:: พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104
บทเฉพาะกาล
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 มาตรา 103 ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้บังคับแก่กิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ยี่สิบคนขึ้นไป นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาสามปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้ใช้ พระราชบัญญัตินี้บังคับแก่กิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่สิบคนขึ้นไป
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 พระราชบัญญัตินี้จะใช้บังคับแก่นายจ้างที่มีลูกจ้างน้อยกว่าสิบคนในท้องที่ใด และเมื่อใด ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
[ความในวรรคสามของ มาตรา 103 เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537]
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 มาตรา 104 ให้ดำเนินการจัดเก็บเงินสมทบเพื่อการให้ประโยชน์ทดแทนในกรณี ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ในกรณีทุพพลภาพ และในกรณีตายอันมิใช่เนื่องจากการทำงาน และในกรณีคลอดบุตร นับแต่วันที่บทบัญญัติ หมวด 2 ของลักษณะ 2 ใช้บังคับ
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 การจัดเก็บเงินสมทบเพื่อการให้ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร และกรณี ชราภาพ จะเริ่มดำเนินการเมื่อใดให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา แต่ทั้งนี้ต้องไม่ช้ากว่าวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2541
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 สำหรับการจัดเก็บเงินสมทบเพื่อการให้ประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างงานจะเริ่ม ดำเนินการเมื่อใด ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
[ความในวรรคสองของ มาตรา 104 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537]
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104
:: ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรี
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104
อัตราค่าธรรมเนียม
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (1) ใบแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียน ประกันสังคม ฉบับละ 50 บาท
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (2) ใบแทนบัตรประกันสังคม ฉบับละ 10 บาท
อัตราเงินสมทบท้ายพระราชบัญญัติ อัตราเงินสมทบ ผู้ออกเงินสมทบ อัตราเงินสมทบเป็นร้อยละ ของค่าจ้างของผู้ประกันตน
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 1. เงินสมทบเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีประสบ อันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย และคลอดบุตร
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (1) รัฐบาล 1.5
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (2) นายจ้าง 1.5
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (3) ผู้ประกันตน 1.5
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 2. เงินสมทบเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์ บุตรและชราภาพ
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (1) รัฐบาล 3
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (2) นายจ้าง 3
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (3) ผู้ประกันตน 3
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 3. เงินสมทบเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (1) รัฐบาล 5
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (2) นายจ้าง 5
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 (3) ผู้ประกันตน 5
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 *หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากได้มี ประกาศใช้พระราช บัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2497 มาเป็นเวลานานแล้วแต่ในขณะนั้นสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ยังไม่อำนวยให้นำกฎหมายนั้นมาใช้บังคับ ปัจจุบันนี้การพัฒนาในด้านเศรษฐกิจและสังคมได้ ก้าวหน้าไปมาก สมควรสร้างหลักประกันให้แก่ลูกจ้างและบุคคลอื่น โดยจัดตั้งกองทุนประกัน สังคมขึ้น เพื่อให้การสงเคราะห์แก่ลูกจ้างและบุคคลอื่นซึ่งประสบอันตราย เจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือตาย อันมิใช่เนื่องจากการทำงาน รวมทั้งกรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และสำหรับกรณีว่างงานซึ่งให้หลักประกันเฉพาะลูกจ้าง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 มาตรา 38 ผู้ใดมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนจากกองทุนในฐานะผู้ประกันตน ก่อนหรือในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับอยู่เพียงใด ก็ให้มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนนั้นต่อ ไปจนครบตามสิทธิ
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 มาตรา 39 ลูกจ้างชั่วคราวของราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาคและราชการ ส่วนท้องถิ่นที่สิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะได้ส่งเงินสมทบมาแล้ว เท่าใด ให้ลูกจ้างชั่วคราวนั้นมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนตามบทบัญญัติใน หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 และ หมวด 5 ของ ลักษณะ 3 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ต่อไปอีก หกเดือนนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 ให้นำความใน มาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ซึ่งแก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มาใช้บังคับกับลูกจ้างชั่วคราวที่สิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 มาตรา 40 เพื่อประโยชน์ในการคำนวณระยะเวลาการส่งเงินสมทบตามพระราช บัญญัตินี้ เงินสมทบของแต่ละเดือนไม่ว่าจะมีจำนวนกี่วันและไม่ว่าจะได้หักไว้และได้นำส่ง เดือนละกี่ครั้งก็ตาม ถ้าได้ส่งหรือได้ถือว่าส่งเข้ากองทุนแล้วก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ ถือว่ามีระยะเวลาในการจ่ายเงินสมทบเท่ากับหนึ่งเดือน
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 มาตรา 41 บรรดาเงินที่นายจ้างหรือผู้ประกันตนมีสิทธิเรียกคืนก่อนวันที่พระราช บัญญัตินี้ใช้บังคับ ถ้าไม่มีผู้ใดมายื่นคำขอต่อสำนักงานเพื่อขอเงินดังกล่าวคืนภายในหนึ่งปีนับแต่ วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ตกเป็นของกองทุน
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 มาตรา 42 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 *หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติประกัน สังคม พ.ศ. 2533 ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันมีข้อขัดข้อง และมีปัญหาในทางปฏิบัติเกิดขึ้นหลาย ประการ ทำให้ผู้ประกันตนไม่ได้รับสิทธิประโยชน์สมตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย นอกจากนั้น วิธีปฏิบัติบางเรื่องในพระราชบัญญัติดังกล่าวยังมีขั้นตอนการปฏิบัติที่ยุ่งยากสลับซับซ้อน เกิดภาระ แก่นายจ้าง และไม่เอื้ออำนวยประโยชน์และการให้บริการแก่นายจ้างและผู้ประกันตน สมควรแก้ไข ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
[รก.2537/63ก/3/30 ธันวาคม 2537]
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542
บทเฉพาะกาล พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 103-104 *หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตรา 38 วรรคสอง บัญญัติให้ผู้ประกันตนที่สิ้นสภาพการเป็นลูกจ้างมีสิทธิได้รับ ประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย กรณีคลอดบุตร กรณีทุพพลภาพ และกรณี ตาย ต่อไปอีกหกเดือนนับแต่วันที่สิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง และ มาตรา 41 วรรคสาม ให้นำบทบัญญัติ มาตรา 38 วรรคสอง มาใช้บังคับแก่ผู้ประกันตนโดยสมัครใจที่สิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน โดยอนุโลม ซึ่งบทบัญญัติดังกล่าวมีเจตนารมณ์ในการช่วยเหลือผู้ประกันตนมิให้ได้รับความ เดือดร้อนชั่วระยะเวลาที่สิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง หรือสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน แล้วแต่กรณี สมควรกำหนดให้ขยายระยะเวลาการมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนภายหลังลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ประกัน ตนสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้างโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ประกอบกับบทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับ สิทธิของผู้ประกันตนในการได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และกรณี ว่างงานยังไม่เหมาะสม สมควรแก้ไขเพิ่มเติมให้ชัดเจนและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ประกันตน และการออกเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมของรัฐบาล นายจ้างและผู้ประกันตนตาม มาตรา 33 ยังไม่สอดคล้องกับความสามารถในการออกเงินสมทบและสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติดังกล่าวให้เหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
[รก.2542/22ก/6/31 มีนาคม 2542]

อัพเดทล่าสุด