https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22 หมวด 1 บททั่วไป MUSLIMTHAIPOST

 

พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22 หมวด 1 บททั่วไป


909 ผู้ชม


 พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
:: หมวด 1 บททั่วไป
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 7 การเรียกร้องหรือการได้มาซึ่งสิทธิหรือประโยชน์ตาม พระราชบัญญัตินี้ ไม่เป็นการตัดสิทธิหรือประโยชน์ที่ลูกจ้างพึงได้ตาม กฎหมายอื่น
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 8 ให้รัฐมนตรีมีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมี คุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางนิติศาสตร์ เพื่อมีอำนาจฟ้องคดีหรือ แก้ต่างคดีแรงงานให้แก่ลูกจ้างหรือทายาทโดยธรรมของลูกจ้างซึ่งถึง แก่ความตาย และเมื่อกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมให้ศาล ทราบแล้ว ก็ให้มีอำนาจกระทำการได้จนคดีถึงที่สุด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 9 ในกรณีที่นายจ้างไม่คืนเงินประกันตาม มาตรา 10 วรรคสอง หรือไม่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และ ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ภายในเวลาที่กำหนดตาม มาตรา 70 หรือ ค่าชดเชยตาม มาตรา 118 ค่าชดเชยพิเศษตาม มาตรา 120 มาตรา 121 และ มาตรา 122 ให้นายจ้างเสียดอกเบี้ยให้แก่ลูกจ้างในระหว่าง เวลาผิดนัดร้อยละสิบห้าต่อปี
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป ในกรณีที่นายจ้างจงใจไม่คืนหรือไม่จ่ายเงินตามวรรคหนึ่งโดย ปราศจากเหตุผลอันสมควรเมื่อพ้นกำหนดเวลาเจ็ดวันนับแต่วันที่ ถึงกำหนดคืนหรือจ่ายให้นายจ้างเสียเงินเพิ่มให้ลูกจ้างร้อยละสิบห้า ของเงินที่ค้างจ่ายทุกระยะเวลาเจ็ดวัน
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป ในกรณีที่นายจ้างพร้อมที่จะคืนหรือจ่ายเงินตามวรรคหนึ่งและ วรรคสอง และได้นำเงินไปมอบไว้แก่อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย เพื่อจ่ายให้แก่ลูกจ้าง นายจ้างไม่ต้องเสียดอกเบี้ยหรือเงินเพิ่มตั้งแต่ วันที่นายจ้างนำเงินนั้นไปมอบไว้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 10 ภายใต้บังคับ มาตรา 51 วรรคสอง ห้ามมิให้ นายจ้างเรียกหรือรับเงินประกันการทำงานหรือเงินประกันความ เสียหายในการทำงานจากลูกจ้าง เว้นแต่ลักษณะหรือสภาพของ งานที่ทำนั้นลูกจ้างต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพย์สิน ของนายจ้าง ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้างได้ ทั้งนี้ ลักษณะหรือสภาพของงานที่ให้เรียกหรือรับเงินประกันจากลูกจ้าง ได้ ตลอดจนจำนวนเงินและวิธีการเก็บรักษา ให้เป็นไปตามหลัก เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป ในกรณีที่นายจ้างเรียกหรือรับเงินประกัน หรือทำสัญญา ประกันกับลูกจ้างเพื่อชดใช้ความเสียหายที่ลูกจ้างเป็นผู้กระทำ เมื่อนายจ้างเลิกจ้าง หรือลูกจ้างลาออก หรือสัญญาประกัน สิ้นอายุ ให้นายจ้างคืนเงินประกันพร้อมดอกเบี้ย ถ้ามี ให้แก่ ลูกจ้างภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่นายจ้างเลิกจ้างหรือวันที่ลูกจ้าง ลาออกหรือวันที่สัญญาประกันสิ้นอายุ แล้วแต่กรณี
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 11 หนี้ที่เกิดจากการไม่ชำระค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ค่าชดเชย ค่าชดเชย พิเศษ เงินสะสม เงินสมทบ หรือเงินเพิ่มให้ลูกจ้างหรือ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน แล้วแต่กรณี มีบุริมสิทธิ เหนือทรัพย์สินทั้งหมดของนายจ้างซึ่งเป็นลูกหนี้ในลำดับเดียว กับบุริมสิทธิในค่าภาษีอากรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 12 ในกรณีที่นายจ้างเป็นผู้รับเหมาช่วง ให้ผู้ รับเหมาช่วงถัดขึ้นไป หากมีตลอดสายจนถึงผู้รับเหมาชั้นต้นร่วม รับผิดกับผู้รับเหมาช่วงซึ่งเป็นนายจ้างในค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ค่าชดเชย ค่าชดเชยพิเศษ เงินสะสม เงินสมทบ หรือเงินเพิ่ม
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป ให้ผู้รับเหมาชั้นต้น หรือผู้รับเหมาช่วงตามวรรคหนึ่งมี สิทธิไล่เบี้ยเงินที่ได้จ่ายไปแล้วตามวรรคหนึ่งคืนจากผู้รับ เหมาช่วงซึ่งเป็นนายจ้าง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 13 ในกรณีที่กิจการใดมีการเปลี่ยนแปลงตัวนายจ้าง เนื่องจากการโอน รับมรดกหรือด้วยประการอื่นใด หรือในกรณี ที่นายจ้างเป็นนิติบุคคล และมีการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง โอน หรือ ควบกับนิติบุคคลใด สิทธิต่าง ๆ ที่ลูกจ้างมีอยู่ต่อนายจ้างเดิม เช่นใดให้ลูกจ้างมีสิทธิเช่นว่านั้นต่อไปและให้นายจ้างใหม่รับไปทั้ง สิทธิและหน้าที่อันเกี่ยวกับลูกจ้างนั้นทุกประการ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 14 ให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างให้ถูกต้องตามสิทธิ และหน้าที่ที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เว้นแต่ พระราชบัญญัตินี้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่น
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 15 ให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและหญิงโดย เท่าเทียมกันในการจ้างงาน เว้นแต่ลักษณะหรือสภาพของงานไม่อาจ ปฏิบัติเช่นนั้นได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 16 ห้ามมิให้นายจ้างหรือผู้ซึ่งเป็นหัวหน้างาน ผู้ ควบคุมงาน หรือผู้ตรวจงานกระทำการล่วงเกินทางเพศต่อลูกจ้าง ซึ่งเป็นหญิงหรือเด็ก
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 17 สัญญาจ้างย่อมสิ้นสุดลงเมื่อครบกำหนดระยะ เวลาในสัญญาจ้างโดยมิต้องบอกกล่าวล่วงหน้า
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป ในกรณีที่สัญญาจ้างไม่มีกำหนดระยะเวลา นายจ้างหรือลูกจ้าง อาจบอกเลิกสัญญาจ้างโดยบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นหนังสือให้อีกฝ่าย หนึ่งทราบ ในเมื่อถึงหรือก่อนจะถึงกำหนดจ่ายค่าจ้างคราวหนึ่ง คราวใด เพื่อให้เป็นผลเลิกสัญญากันเมื่อถึงกำหนดจ่ายค่าจ้างคราว ถัดไปข้างหน้าก็ได้ แต่ไม่จำเป็นต้องบอกกล่าวล่วงหน้าเกินสามเดือน
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป ในกรณีที่นายจ้างเป็นฝ่ายบอกเลิกสัญญาจ้าง ถ้านายจ้างไม่ได้ ระบุเหตุผลไว้ในหนังสือบอกเลิกสัญญาจ้าง นายจ้างจะยกเหตุตาม มาตรา
119 ขึ้นอ้างในภายหลังไม่ได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป การบอกเลิกสัญญาจ้างตามวรรคสอง นายจ้างอาจจ่ายค่าจ้าง ให้ตามจำนวนที่จะต้องจ่ายจนถึงเวลาเลิกสัญญาตามกำหนดที่บอก กล่าวและให้ลูกจ้างออกจากงานทันทีได้ และให้ถือว่าการจ่ายค่าจ้าง ให้แก่ลูกจ้างตามวรรคนี้ เป็นการจ่ายสินจ้างให้แก่ลูกจ้างตาม มาตรา
582 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป การบอกกล่าวล่วงหน้าตาม มาตรา นี้ไม่ใช้บังคับแก่การเลิกจ้าง ตาม มาตรา
119 แห่งพระราชบัญญัตินี้ และ มาตรา 583 แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 18 ในกรณีที่พระราชบัญญัตินี้กำหนดให้นายจ้าง ต้องแจ้งการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดต่อพนักงานตรวจแรงงาน ให้นายจ้างแจ้งด้วยตนเอง แจ้งโดยทางไปรษณีย์ หรือแจ้งโดย ทางโทรสาร แล้วแต่กรณี ณ สถานที่ที่อธิบดีประกาศกำหนด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 19 เพื่อประโยชน์ในการคำนวณระยะเวลา การทำงานของลูกจ้างตามพระราชบัญญัตินี้ให้นับวันหยุด วันลา วันที่นายจ้างอนุญาตให้หยุดงานเพื่อประโยชน์ของลูกจ้าง และวันที่นายจ้างสั่งให้ลูกจ้างหยุดงานเพื่อประโยชน์ของนายจ้าง รวมเป็นระยะเวลาการทำงานของลูกจ้างด้วย
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 20 การที่ลูกจ้างไม่ได้ทำงานติดต่อกันโดยนายจ้าง มีเจตนาที่จะไม่ให้ลูกจ้างนั้นมีสิทธิใดตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่า นายจ้างจะให้ลูกจ้างทำงานในหน้าที่ใด และการจ้างแต่ละช่วงมี ระยะเวลาห่างกันเท่าใดก็ตาม ให้นับระยะเวลาการทำงานทุก ช่วงเข้าด้วยกันเพื่อประโยชน์ในการได้สิทธิของลูกจ้างนั้น
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 21 ในกรณีที่พระราชบัญญัตินี้กำหนดให้นายจ้าง ต้องดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ให้นายจ้าง เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเพื่อการนั้น
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 7-22  หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 22 งานเกษตรกรรม งานประมงทะเล งานบรรทุก หรือขนถ่ายสินค้าเรือเดินทะเลงานที่รับไปทำที่บ้าน งานขนส่ง และ งานอื่นตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาจะกำหนดในกฎกระทรวง ให้มีการคุ้มครองแรงงานกรณีต่าง ๆ แตกต่างไปจากพระราชบัญญัติ นี้ก็ได้

อัพเดทล่าสุด