พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง MUSLIMTHAIPOST

 

พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง


660 ผู้ชม


พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
:: หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 78 ให้มีคณะกรรมการค่าจ้างประกอบด้วย ปลัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมเป็นประธานกรรมการ ผู้แทนฝ่ายรัฐบาลสี่คนผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง ฝ่ายละห้าคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นกรรมการ และข้าราชการ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นเลขานุการ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อให้ได้มาซึ่งผู้แทนฝ่ายนายจ้างและ ผู้แทนฝ่ายลูกจ้างตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรี กำหนด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 79 คณะกรรมการค่าจ้างมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (1) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายค่าจ้าง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (2) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ข้อแนะนำภาค เอกชนเกี่ยวกับการกำหนดค่าจ้างและการปรับค่าจ้างประจำปี
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (3) กำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำพื้นฐาน
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (4) กำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำที่ลูกจ้างควรได้รับตามความ เหมาะสมแก่สภาพเศรษฐกิจและสังคม
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (5) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพัฒนาระบบค่าจ้าง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (6) ให้คำแนะนำด้านวิชาการและแนวทางการประสาน ประโยชน์แก่หน่วยงานต่าง ๆ ในภาคเอกชน
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (7) รายงานเสนอรัฐมนตรีอย่างน้อยปีละครั้งเกี่ยวกับภาวะ ค่าจ้างและแนวโน้มของค่าจ้างตลอดจน มาตราการที่ควรจะได้ ดำเนินการ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมาย อื่นบัญญัติให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการค่าจ้างหรือ ตามที่คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมาย
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ในการเสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการค่าจ้าง จะมีข้อสังเกตเกี่ยวกับการพัฒนาระบบรายได้ของประเทศด้วยก็ได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 80 ให้กรรมการค่าจ้างซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง มีวาระดำรงตำแหน่งคราวละสองปี กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่ง อาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ในกรณีที่กรรมการค่าจ้างซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจาก ตำแหน่งก่อนวาระ ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการในประเภทเดียว กันเป็นกรรมการแทน และให้ผู้ได้รับแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งเท่ากับ วาระที่เหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน เว้นแต่วาระของกรรมการ เหลืออยู่ไม่ถึงหนึ่งร้อยแปดสิบวัน จะไม่แต่งตั้งกรรมการแทนก็ได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ในกรณีที่กรรมการค่าจ้างซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจาก ตำแหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการใหม่ ให้ กรรมการนั้นปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อน จนกว่าจะได้แต่งตั้ง กรรมการใหม่เข้ารับหน้าที่ ซึ่งต้องแต่งตั้งให้เสร็จสิ้นภายใน เก้าสิบวันนับแต่วันที่กรรมการเดิมพ้นจากตำแหน่ง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 81 นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตาม มาตรา 80 กรรมการค่าจ้างซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจาก ตำแหน่งเมื่อ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (1) ตาย
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (2) ลาออก
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (3) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะขาดประชุมตามที่กำหนด สามครั้งติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (4) เป็นบุคคลล้มละลาย
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (5) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (6) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 82 การประชุมคณะกรรมการค่าจ้างต้องมีกรรมการ เข้าประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด โดยมี กรรมการฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคน จึง จะเป็นองค์ประชุม
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ในการประชุมเพื่อพิจารณากำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำพื้นฐาน หรืออัตราค่าจ้างขั้นต่ำตาม มาตรา
79 จะต้องมีกรรมการเข้าประชุม ไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด โดยมีกรรมการ ฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างอย่างน้อยฝ่ายละสองคนจึงจะเป็นองค์ ประชุม และต้องได้มติอย่างน้อยสองในสามของกรรมการที่เข้า ประชุม
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ในการประชุมเพื่อพิจารณากำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำคราวใด ถ้าไม่ได้องค์ประชุมตามที่กำหนดไว้ในวรรคสอง ให้จัดให้มีการ ประชุมอีกครั้งหนึ่งภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่นัดประชุมครั้งแรก การประชุมครั้งหลังนี้แม้จะไม่มีกรรมการซึ่งมาจากฝ่ายนายจ้าง หรือฝ่ายลูกจ้างเข้าร่วมประชุม ถ้ามีกรรมการมาประชุมไม่น้อย กว่าสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด ก็ให้ถือเป็นองค์ ประชุม และต้องได้มติอย่างน้อยสองในสามของกรรมการที่เข้า ประชุม
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 83 ในการประชุมคราวใด ถ้าประธานกรรมการ ไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการที่มา ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนนถ้าคะแนน เสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีก เสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 84 ให้คณะกรรมการค่าจ้างมีอำนาจแต่งตั้งคณะ อนุกรรมการดังต่อไปนี้เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่ง อย่างใดแทนคณะกรรมการได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (1) คณะอนุกรรมการอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (2) คณะอนุกรรมการอัตราค่าจ้างขั้นต่ำจังหวัด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (3) คณะอนุกรรมการอื่นที่คณะกรรมการเห็นสมควรกำหนด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ให้คณะกรรมการค่าจ้างกำหนดองค์ประชุมและวิธีดำเนินงาน ของคณะอนุกรรมการได้ตามความเหมาะสม
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 85 ในการปฏิบัติหน้าที่ให้คณะกรรมการค่าจ้าง หรือคณะอนุกรรมการ หรือผู้ซึ่งคณะกรรมการค่าจ้างหรือคณะ อนุกรรมการมอบหมายมีอำนาจดังต่อไปนี้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (1) มีหนังสือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคำหรือให้ส่งเอกสาร หรือวัตถุใด ๆ มาเพื่อประกอบการพิจารณาได้ตามความจำเป็น
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (2) ให้หน่วยงานหรือบุคคลใดให้ความร่วมมือในการสำรวจ กิจการใด ๆ ที่อาจมีผลกระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (3) เข้าไปในสถานประกอบกิจการหรือสำนักงานของ นายจ้างในเวลาทำการเพื่อศึกษา สำรวจ วิจัย ตรวจสอบ หรือสอบถามข้อเท็จจริงเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่จะใช้ใน การพิจารณาตาม มาตรา
79 ในการนี้ ให้นายจ้างหรือบุคคล ซึ่งเกี่ยวข้องอำนวยความสะดวกส่งหรือแสดงเอกสาร หรือ ให้ข้อเท็จจริงและไม่ขัดขวางการปฏิบัติการตามหน้าที่ของ บุคคลดังกล่าว
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 86 ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม มาตรา 85 ให้ กรรมการค่าจ้าง อนุกรรมการ หรือผู้ซึ่งคณะกรรมการค่าจ้าง หรือคณะอนุกรรมการมอบหมาย แสดงบัตรประจำตัวหรือ หนังสือมอบหมายแล้วแต่กรณี ต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง บัตรประจำตัวกรรมการค่าจ้างและอนุกรรมการตาม วรรคหนึ่งให้เป็นไปตามแบบที่รัฐมนตรีกำหนด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 87 ในการพิจารณากำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ และอัตราค่าจ้างขั้นต่ำพื้นฐานให้คณะกรรมการค่าจ้างศึกษา และพิจารณาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอัตราค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับอยู่ ประกอบกับข้อเท็จจริงอื่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งดัชนีค่าครองชีพ อัตราเงินเฟ้อ มาตรา ฐานการครองชีพ ต้นทุนการผลิต ราคา ของสินค้า ความสามารถของธุรกิจผลิตภาพแรงงาน ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง การพิจารณากำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ จะกำหนดให้ใช้ เฉพาะกิจการประเภทใดประเภทหนึ่งหรือทุกประเภทหรือใน ท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งก็ได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง การพิจารณากำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำต้องไม่ต่ำกว่า อัตราค่าจ้างขั้นต่ำพื้นฐานที่คณะกรรมการค่าจ้างกำหนด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ถ้าไม่มีการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำในท้องที่ใดให้ถือ ว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำพื้นฐานเป็นอัตราค่าจ้างขั้นต่ำของ ท้องที่นั้น
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 88 เมื่อได้ศีกษาข้อมูลและข้อเท็จจริงต่างๆ ตามที่กำหนดไว้ใน มาตรา 87 แล้ว ให้คณะกรรมการค่าจ้าง กำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำพร้อมทั้งรายละเอียดต่างๆ ตามที่ เห็นสมควรเสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 89 ประกาศกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำตาม มาตรา 88 ให้ใช้บังคับแก่นายจ้างและลูกจ้างนั้นจะมีสัญชาติ ศาสนา หรือเพศใด
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 90 เมื่อประกาศกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ มีผลใช้บังคับแล้ว ห้ามมิให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างแก่ลูกจ้าง น้อยกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง ให้นายจ้างที่อยู่ในข่ายบังคับของประกาศกำหนดอัตรา ค่าจ้างขั้นต่ำปิดประกาศดังกล่าวไว้ในที่เปิดเผย เพื่อให้ ลูกจ้างได้ทราบ ณ สถานที่ทำงานของลูกจ้าง ตลอดระยะ เวลาที่ประกาศดังกล่าวมีผลใช้บังคับ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง
มาตรา 91 ให้มีสำนักงานคณะกรรมการค่าจ้างขึ้นใน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมและให้มีอำนาจหน้าที่ดังต่อ ไปนี้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (1) จัดทำแผนงาน โครงการเสนอต่อคณะกรรมการค่าจ้าง และคณะอนุกรรมการ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (2) ประสานแผนและการดำเนินการของคณะกรรมการค่าจ้าง และคณะอนุกรรมการตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (3) รวบรวม ศึกษา วิจัย วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์ เศรษฐกิจ แรงงาน ภาวะการครองชีพ การขยายตัวของตลาด แรงงาน ผลิตภาพแรงงาน การลงทุน การย้ายถิ่นฐาน และข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ ค่าจ้างและคณะอนุกรรมการ
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (4) เสนอแนะผลการศึกษา และผลการพิจารณาข้อมูลทาง วิชาการ และ มาตราการเสริมอื่นๆ ต่อกระทรวงแรงงานและ สวัสดิการสังคม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในการ พัฒนาระบบค่าจ้างและรายได้
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (5) ติดตามและประเมิณผลการปฏิบัติงานตามมติของคณะ กรรมการค่าจ้าง
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง (6) ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการค่าจ้างหรือคณะกรรมการ มอบหมาย
พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตราที่ 78-91 หมวด 6 คณะกรรมการค่าจ้าง  

อัพเดทล่าสุด