https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
สุขภาพน่ารู้ กับ 6 เทคนิคกันผายลม ให้ช้าที่สุด MUSLIMTHAIPOST

 

สุขภาพน่ารู้ กับ 6 เทคนิคกันผายลม ให้ช้าที่สุด


692 ผู้ชม


สุขภาพน่ารู้ กับ 6 เทคนิคกันผายลม

ไข่ - egg
 


           ผายลมเป็นอาการที่ควบคุมไม่ค่อยได้ เกิดจากการมีอากาศหรือแก๊สในกระเพาะมากเกินไป คงไม่ดีแน่หากต้องผายลมออกมาในที่สาธารณะ H&C จึงมีเทคนิคบริหารจัดการการผายลมมาฝาก

            1. อย่ากินอาหารหรือดื่มน้ำเร็วเกินไป เพราะระหว่างกินเราจะกลืนอากาศเข้าไปด้วย การกินเร็วจึงทำให้เรากลืนลมมากตามไปด้วย ถ้ากินช้าๆ เคี้ยวให้ละเอียดจะช่วยให้อากาศเข้าสู่ร่างกายได้น้อยลง
            2. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มเติมแก๊ส เช่น เบียร์ โซดา น้ำอัดลม เพราะทำให้เรอและผายลมมากขึ้น
            3. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มปรุงสำเร็จที่มีส่วนประกอบของน้ำเชื่อมฟรัคโทส (fructose syrup) เช่น เครื่องดื่มกระป๋อง น้ำผลไม้กระป๋อง บางคนอาจดูดซึมน้ำตาลชนิดนี้ได้น้อย ทำให้ท้องอืดหรือผายลมมากขึ้น
            4. หยุดสูบบุหรี่ การสูบยาคือการสูบอากาศเข้าไปด้วย
            5. ลดอาหารที่มีกำมะถันเป็นส่วนประกอบ เช่น ไข่ เนื้อสัตว์ กะหล่ำปลี ซึ่งทำให้เกิดแก๊สที่มีกลิ่นเหม็น
            6. ลดการรับประทานถั่วสดและผักสด การกินถั่วสด ถั่วอบแห้ง และผักบางชนิดอาจมีน้ำตาลที่ร่างกายย่อยไม่ได้ แบคทีเรียในลำไส้จะย่อยน้ำตาลพวกนี้แทนทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะ จึงควรกินถั่วและผักที่ปรุงสุกแล้ว

อัพเดทล่าสุด