https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง MUSLIMTHAIPOST

 

การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง


1,772 ผู้ชม


การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง

 

ชีวสารสนเทศ (Bioinformatics)

การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง
ชีวสารสนเทศ เป็นศาสตร์แขนงใหม่ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการนำความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการศึกษาและใช้เพื่อการจัดการกับข้อมูลจำนวนมากที่ได้จากการวิจัยด้านชีวภาพ (Biological Science) ทำให้ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่องานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพและงานทางด้านวิทยาศาสตร์แพทย์ ซึ่งในปัจจุบันข้อมูลของยีนและโปรตีนมีจำนวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ภายหลังจากบริษัทเซเลร่า (Celera Genomics) ซึ่งทำการถอดลำดับจีโนมมนุษย์สำเร็จเป็นรายแรก และยังมีแผนการที่จะถอดลำดับจีโนมของมนุษย์อีก6ครั้งเพื่อให้ข้อมูลที่ได้ครอบคลุมมนุษย์ทุกๆเชื้อชาติและเพศ (https://www.ornl.gov/sci/techresources/Human_Genome/home.shtml,) (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/mapview/

 ยุคหลังจีโนม


ในยุคหลังจีโนม (post-genomic era) ภารกิจของนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกคือ การค้นหายีนและการทำงานของยีนภายในจีโนมของสิ่งมีชีวิตต่างๆรวมทั้งจีโนมของมนุษย์ (ซึ่งมีอยู่ประมาณ 50,000 ถึง 130,000 ยีน) ซึ่งยังอยู่ในขั้นเริ่มต้นของงานวิจัย https://www.ims.nus.edu.sg/Programs/genome/part1.htm รวมทั้งจะมีความพยายามในการหาโครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีน กระทั่งศึกษาการควบคุมการทำงานของโปรตีน ภารกิจสำคัญเหล่านี้จะต้องดำเนินต่อไป ( https://bip.weizmann.ac.il/ ) 
การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง


ดังนั้นนักวิจัย และ นักวิทยาศาสตร์จึงต้องอาศัยเครื่องมือและความรู้ทางด้านชีวสารสนเทศ มาช่วยจัดการระบบบริหารข้อมูลจำนวนมหาศาลที่เป็นผลจากโครงการจีโนมของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ความรู้ความเข้าใจและการประยุกต์ใช้ชีวสารสนเทศในงานวิจัยจะช่วยให้นักวิจัยสามารถสืบค้นข้อมูลยีนและโปรตีน โดยศึกษาความสัมพันธ์ของการทำงานของยีนทั้งระบบ (genome wide) เข้าใจกลไกการควบคุมการแสดงออกของยีน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีน ตลอดจนการค้นหาเป้าใหม่ๆ ของยา เป็นต้น
การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง



การพัฒนาเทคโนโลยีด้านจีโนม เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสารพันธุกรรม ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ในอนาคต การประยุกต์ ใช้ด้านจีโนมจะทำได้อย่างง่ายดายและจะแทรกอยู่ในชีวิตประจำวันของเรา เช่น การตรวจสารพันธุกรรมจากเลือด ซึ่งจะทำ ได้อย่างง่ายดาย รวดเร็วและราคาถูก การทราบข้อมูลพันธุกรรม มนุษย์นั้นทำให้การทราบความลับของปัจเจกบุคคล เป็นได้อย่าง ง่ายดายขึ้นอย่างมาก เช่น ทราบว่าใครเป็นโรคอะไรบ้าง ร้ายแรงเพียงใด จะถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้หรือไม่ ใครเป็นพ่อ-แม่-ลูกกับใคร หรือมีความสัมพันธ์ในสายเลือดอย่างไรต่อกัน หรือโรคของมนุษย์ส่วนใหญ่ (ยกเว้นโรคระบาด) เป็นโรคทางพันธุกรรม ดังนั้น การที่สามารถระบุตำแหน่งและหน้าที่ของยีนได้ จะนำไปสู่การบำบัดรักษาด้วยยีน (gene therapy) หรือมิฉะนั้นอย่างน้อยก็จะสามารถใช้ยีนนั้นผลิตโปรตีนที่ใช้ในการรักษาโรคได้หลายชนิด เช่น โรคมะเร็ง บาดแผลเรื้อรังที่รักษาไม่หาย เป็นต้น
การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง

ประโยชน์ของชีวสารสนเทศ



การศึกษาจีโนมในสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ( https://gdbwww.gdb.org/)
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับจีโนมมีหลายประเภท แต่ที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างมากในขณะนี้คือการหาลำดับคู่เบสในสาย DNA ทั้งหมด (genome sequencing) นอกจากจีโนมมนุษย์ซึ่งมีการหาลำดับได้เกือบหมดแล้วนั้น ยังมีการศึกษาจีโนมของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ อีก ตัวอย่างเช่น:
-.หนู มีจีโนม ขนาดเล็กกว่ามนุษย์เล็กน้อย ขนาดของจีโนมประมาณ 3 พันล้านคู่เบส บรรจุอยู่ในโครโมโซม 20 คู่ https://www.informatics.jax.org/
-แมลงหวี่ Drosophila มีจีโนมขนาดประมาณ 160 ล้านคู่เบส และมีโครโมโซม 4 คู่ https://www.fruitfly.org/
-หนอนตัวกลม C. elegans มีจีโนมขนาดประมาณ 100 ล้านคู่เบส https://www.sanger.ac.uk/Projects/C_elegans/
-ยีสต์ S. cerevisiae มีจีโนมขนาดประมาณ 12.5 ล้านคู่เบส https://www.yeastgenome.org/
-แบคทีเรีย E. coli มีโครโมโซมเดี่ยว และมีจีโนมขนาดเล็กเพียง 5 ล้านคู่ https://www.genome.wisc.edu/
- จีโนม Burkholderia pseudomallei ซึ่งเป็นสาเหตุของโรค melioidosis ที่เป็นโรคติดเชื้อสำคัญในประเทศไทยhttps://www.sanger.ac.uk/Projects/B_pseudomallei/
- โครงการจีโนม ข้าว https://rgp.dna.affrc.go.jp/
- โครงการจีโนม Plasmodium falciparum https://www.ncbi.nlm.nih.gov/mapview/map_search.cgi?taxid=5833
- โครงการจีโนม Arabidopsis thaliana https://www.ncbi.nlm.nih.gov/mapview/map_search.cgi?taxid=3702
การใช้ชีวสารสนเทศมาช่วยในการถอดลำดับจีโนม 
การเรียงตัวของคู่เบส (sequencing) ทำโดยตัดเส้น DNA เป็นชิ้น ๆ แล้วป้อนเข้าไปให้เครื่องอ่านอัตโนมัติอ่านถอดอักษรทีละตัวๆของรหัสทางพันธุ์กรรม จากนั้นทำการประกอบเข้าด้วยกันใหม่ (assembly) นำตัวอักษรที่แกะแล้วในแต่ละชิ้นของเส้น DNA มาประกอบเรียงกันใหม่จนกระทั่งได้ลำดับคู่เบสของ DNA ทั้งหมด 
การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง



Baylor's College of Medicine ( https://dot.imgen.bcm.tmc.edu:9331/multi-align/multi-align.html ) 
หรือที่ https://www.ibc.wustl.edu/ibc/msa.html
การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง
รูป การทำเข้า ทำ “ Pairwise sequence alignment” ที่ https://www.ncbi.nlm.nih.gov/BLAST/

 การใช้ชีวสารสนเทศ (ต่อ)


3.การศึกษาโครงสร้างโปรตีนแบบ 3 มิติ
ซึ่งรวมไปถึงคุณสมบัติทั้งทางด้านกายภาพและชีวภาพของโครงสร้างต่าง ๆ ด้วย โดยฐานข้อมูลโครงสร้างโปรตีนที่สำคัญคือ Protein Data Bank (PDB) https://www.rcsb.org/pdb/ ซึ่งมีทั้งข้อมูลและโปรแกรมให้บริการ เช่น RASMOL https://www.umass.edu/microbio/rasmol/ และ Cn3Dhttps://www.ncbi.nih.gov/Structure/CN3D/cn3d.shtml 
การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง
4.การพยากรณ์โครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีนจากข้อมูลลำดับนิวคลีโอไทด์ เช่น การพยากรณ์โครงสร้างของโปรตีนในระดับ 2 มิติ ด้วยการเปรียบเทียบลำดับอะมิโนแล้วทำการพยากรณ์โดยอาศัยอัลกอริทึมอื่น ๆ ร่วมด้วย ตัวอย่างโปรแกรมได้แก่ PHD, PSIPRED, PSA เป็นต้นhttps://www.ncbi.nlm.nih.gov/Structure/ หรือ https://www.rcsb.org/pdb/ หรือ https://bmerc-www.bu.edu/psa/
5.การศึกษาในระดับจีโนม(Genomics) ซึ่งเน้นการศึกษาภาพรวมของความสัมพันธ์ในการทำหน้าที่ของยีนต่าง ๆ โดยสามารถศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับจีโนมได้จากแหล่ง เช่น NCBI, TIGR, EnsEMBL เป็นต้น https://www.ncbi.nlm.nih.gov/mapview/ หรือ https://www.tigr.org/ หรือ https://www.ensembl.org/


การวิเคราะห์ dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dna และการศึกษาจีโนม การวิเคราะห์dnaและการศึกษาจีโนม,gel electophoresisและงานที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลอ้างอิง
Durbin, R., Eddy, S., Krogh, A. and Mitchison, G. (1998) Biological sequence analysis: Probabilistic models of proteins and nucleic acids. Cambridge University Press, Cambridge. 
Smith, T.F. and Waterman, M.S. (1981) Identification of common molecular subsequences. Journal of Molecular Biology, 147, pp. 195-197.
https://www.medsci.nu.ac.th/Thai/DeptBiochem/Word/concisecoursesylGenBC1_47.doc
https://library.riu.ac.th/webdb/finddew.asp?dew=570
https://www.ssi-tdr.net/cbag/
https://bioinfo.biotec.or.th/Databases/databasese.html
https://bioinformatics.oupjournals.org/
https://bioinfo.biotec.or.th/
https://bioinfo.biotec.or.th/expert.html
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/
https://bioinfo.biotec.or.th/ARTICLES/basic1.html
https://bip.weizmann.ac.il/edu.html
https://www.ibioinformatics.org/

แหล่งที่มา : vcharkarn.com

อัพเดทล่าสุด