https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
การรักษาโรคหลอดลมอักเสบ ยารักษาโรคหลอดลมอักเสบ โรคหลอดลมอักเสบในทารก MUSLIMTHAIPOST

 

การรักษาโรคหลอดลมอักเสบ ยารักษาโรคหลอดลมอักเสบ โรคหลอดลมอักเสบในทารก


549 ผู้ชม


การรักษาโรคหลอดลมอักเสบ ยารักษาโรคหลอดลมอักเสบ โรคหลอดลมอักเสบในทารก

 

 

 

หลอดลมอักเสบเรื้อรัง

หลอดลมอักเสบเรื้อรังหมายถึงการอักเสบของหลอดลม มีการบวมของเยื่อบุหลอดลม และมีเสมหะเป็นปริมาณมาก ทำให้ลมผ่านไปยังปอดได้น้อยลง เราจะถือว่าหลอดลมอักเสบเรื้อรังเมื่อมีอาการไออย่างต่อเนื่อง 3 เดือนต่อปีเป็นเวลา 2 ปี

สาเหตุ

  • บุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดหลอดลมอักเสบเรื้อรัง

     

  • การติดเชื้อแบคทีเรียหรือติดเชื้อไวรัสบ่อยๆ

     

  • สิ่งแวดล้อม เช่นฝุ่น กลิ่น สารภูมิแพ้

     

เมื่อหลอดลมมีการอักเสบเรื้อรังจะทำให้มีการสร้างเสมหะเป็นปริมาณมาก เยื่อบุหนาตัว ทำให้ติดเชื้อแบคที่เรียและไวรัสได้ง่าย และยังทำให้หายใจลำบาก

โรคแทรกซ้อน

ผู้ที่เป็นโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังมักจะเป็นผู้ที่สูบบุหรี่ เวลาไอก็คิดว่าเกิดจากบุหรี่ เมื่อมีการติดเชื้อก็ทำให้มีการทำลายหลอดลม หากเป็นเรื้อรังจะทำให้ปอดทุกทำลายเกิดเป็นโรคถุงลมโป่งพอง ถึงตอนนั้นก็สายเกินจะรักษา

การรักษา

  • ต้องหลีกเลี่ยงสิ่งที่ระคายเคืองต่อหลอดลม เช่นควันบุหรี่ กลิ่น สารเคมีรวมทั้งการติดเชื้อที่คอ ปาก จมูก ไซนัส

     

  • การให้ยาปฏิชีวนะจะให้เมื่อมีการติดเชื้อแบคทีเรีย

     

  • ให้ยาขยายหลอดลมซึ่งอาจจะเป็นชนิดรับประทานหรือชนิดพ่น เนื่องจากโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังหลอดลมจะตีบได้ง่าย

     

  • รักษาน้ำหนักตัวให้เหมาะสม

     

  • รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ

     

  • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

     

  • ฉีดวัคซีนป้องกันไขหวัดใหญ่และปอดบวม

     

  • หลีกเลี่ยงการติดเชื้อหวัด

 


แหล่งที่มา : siamhealth.net

อัพเดทล่าสุด