https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
องค์ประกอบและหน้าที่ของเซลล์พืช วิทยาศาสตร์ ม.1 ลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ องค์ปประกอบโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ MUSLIMTHAIPOST

 

องค์ประกอบและหน้าที่ของเซลล์พืช วิทยาศาสตร์ ม.1 ลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ องค์ปประกอบโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์


839 ผู้ชม


องค์ประกอบและหน้าที่ของเซลล์พืช วิทยาศาสตร์ ม.1 ลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ องค์ปประกอบโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

 

ผนังเซลล์ (Cell Wall)

 

สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต 
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1
 :  เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

ตัวชี้วัดช่วงชั้น
สืบค้นข้อมูล อธิบายและอภิปรายโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบภายในเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์  

จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ของเซลล์สิ่งมีชีวิต และสามารถบอกความแตกต่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ได้

โครงสร้างของเซลล์ยูคาริโอต  แบ่งออกเป็น  3 ส่วนใหญ่  ดังนี้ 
1) โครงสร้างที่ห่อหุ้มเซลล์
2) ไซโทพลาซึม (Cytoplasm)
3) นิวเคลียส  (Nucleus)
 1) โครงสร้างที่ทำหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์ (Extracellular components and connections between cells help coordinate cellular activities)
     1.1) ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็นโครงสร้างที่แข็งแกร่ง ห่อหุ้มเซลล์ ป้องกันไม่ให้ของเหลวต่างๆ ภายในเซลล์ได้รับอันตราย รักษารูปทรงของเซลล์ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีส่วนประกอบที่แตกต่างกัน เช่น ผนังเซลล์พืช และสาหร่าย มีส่วนประกอบเป็น เซลลูโลส (cellulose), เห็ด รา มีส่วนประกอบเป็น ไคทิน (chitin), แบคทีเรียและสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว มีส่วนประกอบเป็น เปปติโดไกลแคน (peptide glycans) ผนังเซลล์ของพืชเกิดจากกอลจิคอมเพลกซ์ สร้างถุงที่บรรจุสารเพกติน พอลิแซคคาไรด์ แล้วมาเรียงตัวบริเวณกึ่งแนวกลางเซลล์ เรียกว่า เซลล์เพลท (Cell plate) ถุงนี้จะเชื่อมรวมกันเป็นถุงเดียวขยายไปทั้งสอบข้างของเซลล์  เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์แต่จะมี extracellular matrix (ECM) แทน ECM ประกอบไปด้วย สารพวก glycoproteins เช่น collagen , proteoglycan complex และ fibronectin รวมทั้งคาร์โบไฮเดรทสายสั้นๆ ฝังอยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ เซลล์แต่ละชนิดจะมี ECM ที่มีโครงสร้างและองค์ประกอบแตกต่างกันไปตามหน้าที่ของเซลล์นั้นๆ ECM ทำหน้าที่ในการ support , adhesion , movement และ regulation
Cell Walls of plants  
     The cell wall is an extracellular structure of plant cells that distinguishes from them animal cells. The wall protects the plant cell, maintains its shape, and prevents excessive uptake of water. On the level of the whole plant, the strong walls of  specialized cells hold the plant up against the force of gravity. Prokaryotes, fungi, and some protists also have cell walls, but we will postpone discussion of them until Unit Five.   

     Plant cell walls are much thicker than the plasma membrane, ranging from 0.1 µm to several micrometers. The exact chemical composition of the wall varies from species to species and even from one cell type to another in the same plant, but the basic design of the wall is consistent. Microfibrils made of the polysaccharides cellulose are synthesized by an enzyme called cellulose synthase and secreted to the extracellular space, where they become embedded in a matrix of other polysaccharides and proteins. This combination of materials, strong fibers in a “ground substance” (matrix), is the same basic architectural design found in steel-reinforced concrete and in fiberglass.


แหล่งที่มา : vcharkarn.com

อัพเดทล่าสุด