https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร MUSLIMTHAIPOST

 

โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร


954 ผู้ชม


โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร

 โรคเล็บเหลืองเกิดจาก

   ร่าง กายเราน่ะฉลาดล้ำ ต้องการอะไรก็สื่อสารออกมาให้เจ้าของร่างกายรู้สึก.. เวลาท้องว่างก็ร้องโครกคราก เพื่อให้เจ้าของกระเพาะเกิดรู้สึกหิว เตือนคุณว่าถึงเวลากินอาหารแล้วจ๊ะซักที เท่านั้นไม่พอ คุณรู้ไหมว่าสภาพอวัยวะร่างกายคุณที่เปลี่ยนแปลง อาทิ เล็บที่เคยอมชมพูกลับกลายเป็นสีเหลือง ฯลฯ ไม่ใช่เพราะเล็บซีดจากการทาสีบ่อยๆ หรอกนะคะ หากคุณกำลังเป็นโรคบางอย่างอยู่น่ะสิ!
       
       
…มีหลากหลายอาการอวัยวะที่ไม่เหมือนเดิม และคุณเองอาจไม่ทันสังเกต
       
       
…เราจึงอาสาพาคุณสำรวจร่างกาย ตัวเองตั้งศีรษะจรดปลายเท้ากันเลยค่ะว่า แต่ละสังขารอันไม่เที่ยงนั้น กำลังส่งสัญญาณโรคภัยไข้เจ็บชนิดไหน และควรป้องกันรักษาอย่างไร
     

สารพัดวิธีเยียวยาปัญหาเล็บ

 

   เล็บสวยนอกจากจะบ่งบอกถึงสุขภาพร่างกายที่ดีแล้ว ยังบอกถึงความเอาใจใส่ในสุขภาพของเราด้วย อาการผิดปกติที่เล็บพบได้บ่อยๆ แต่มักถูกมองข้ามไป บ้างก็ปล่อยจนเรื้อรัง วันนี้มีวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับเล็บที่มักเป็นกันอยู่บ่อยๆ มาฝากค่ะ

เกลือคลายอาการเล็บขบ 
    
   บางคนมีอาการเล็บขบแบบเป็นแล้วเป็นอีก แต่ก็ไม่รู้จะแก้ยังไง สาเหตุของเล็บขบอาจเกิดจากการตัดเล็บไม่ได้สัดส่วน ทำให้เล็บที่งอกมาใหม่ฝังลงในผิวหนัง เกิดอาการปวดอักเสบ นอกจากนั้นพฤติกรรมที่ทำเป็นประจำบางอย่าง เช่น การตัดเล็บที่ผิดวิธี การใส่รองเท้าที่บีบรัดเกินไป ก็ทำให้เล็บกดเข้าไปในเนื้อ
ใครกำลังประสบกับปัญหาเล็บขบที่แก้ไม่ตกอยู่ ลองทำตามวิธีต่อไปนี้ดูนะคะ

  • แช่เท้าในน้ำอุ่นผสมเกลือ โดยใช้เกลือ 1 ช้อนชาต่อน้ำ 1 ลิตร วันละ 4 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที  เพื่อลดอาการบวมและอาการกดเจ็บ
  • หลังจากแช่เท้า ใช้สำลีชุบน้ำยาฆ่าเชื้อชิ้นเล็กๆ วางไว้บริเวณเล็บที่ขบ หากทำได้ให้สอดเข้าใต้ขอบเล็บ เพื่อช่วยให้เล็บงอกพ้นผิวหนังออกไป หมั่นเปลี่ยนสำลีทุกวันจนกว่าอาการเจ็บและรอยแดงช้ำจะหายไป

มะกรูดเยียวยาเล็บขึ้นรา
    
   แม้เล็บจะเป็นเซลล์ที่ตายแล้ว แต่หากปล่อยปละละเลยไม่สนใจทำความสะอาด การสัมผัสกับความอับชื้นก็ทำให้เกิดเชื้อราจำพวกกลากและแคนดิดา (candida) ที่เล็บได้ การติดเชื้อที่เล็บนี้มักเริ่มจากการเป็นปื้นสีขาวที่ขอบเล็บด้านข้าง หรือปลายเล็บ แล้วขยายช้าๆ จนขาวขุ่นทั้งเล็บ เล็บจะหนาตัวขึ้น มีขุยใต้เล็บ บางกรณีอาจมีเล็บเปราะ ขรุขระ บางครั้งอาจมีหนองร่วมด้วย
   นอกจากสาเหตุของการไม่รักษาความสะอาดแล้ว เล็บติดเชื้อรายังมักพบในผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ เช่น ในคนเป็นโรคเบาหวาน โรคเอดส์ ฯลฯ เล็บติดเชื้อราสามารถแก้ไขได้ด้วยมะกรูดก้นครัวเรานี่เอง เพราะมะกรูดมีฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราได้ดี นำมะกรูดมาคั้นเอาน้ำ นำน้ำมะกรูดทาบ่อยๆ อาการก็จะดีขึ้น น้ำมันทีทรี  (tea tree oil) เป็นอีกอย่างหนึ่งที่ใช้ได้ผลดี ใช้สำลีชุบทาบ่อยๆ บริเวณเล็บและผิวหนังโดยรอบ
        
   เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายและสร้างความแข็งแรงให้เล็บ แนะนำให้กินหัวหอม กระเทียม อาหารที่มีสังกะสี อย่างปลา หอย ธัญพืชไม่ขัดขาว ถั่วฝัก เพิ่มอาหารที่มีวิตามินซี เพื่อช่วยในการรักษาแผล เช่น ส้มและผลไม้จำพวกส้ม บร็อคโคลี่ พริก และผักทุกชนิด พร้อมทั้งเสริมอาหารมีฟลาโวนอยด์ที่มีสารแอนตี้ออกซิแดนท์ อย่างธัญพืชไม่ขัดขาว ผักและผลไม้สีสด
   และท้ายสุดคืออาหารที่มีกรดไขมันโอเมก้า-3 อย่างปลาที่มีมันมาก เช่น ปลาแซลมอน ปลาทูน่า

สารพัดวิธีเยียวยาปัญหาเล็บ

 

   เล็บสวยนอกจากจะบ่งบอกถึงสุขภาพร่างกายที่ดีแล้ว ยังบอกถึงความเอาใจใส่ในสุขภาพของเราด้วย อาการผิดปกติที่เล็บพบได้บ่อยๆ แต่มักถูกมองข้ามไป บ้างก็ปล่อยจนเรื้อรัง วันนี้มีวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับเล็บที่มักเป็นกันอยู่บ่อยๆ มาฝากค่ะ

เกลือคลายอาการเล็บขบ 
    
   บางคนมีอาการเล็บขบแบบเป็นแล้วเป็นอีก แต่ก็ไม่รู้จะแก้ยังไง สาเหตุของเล็บขบอาจเกิดจากการตัดเล็บไม่ได้สัดส่วน ทำให้เล็บที่งอกมาใหม่ฝังลงในผิวหนัง เกิดอาการปวดอักเสบ นอกจากนั้นพฤติกรรมที่ทำเป็นประจำบางอย่าง เช่น การตัดเล็บที่ผิดวิธี การใส่รองเท้าที่บีบรัดเกินไป ก็ทำให้เล็บกดเข้าไปในเนื้อ
ใครกำลังประสบกับปัญหาเล็บขบที่แก้ไม่ตกอยู่ ลองทำตามวิธีต่อไปนี้ดูนะคะ

  • แช่เท้าในน้ำอุ่นผสมเกลือ โดยใช้เกลือ 1 ช้อนชาต่อน้ำ 1 ลิตร วันละ 4 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที  เพื่อลดอาการบวมและอาการกดเจ็บ
  • หลังจากแช่เท้า ใช้สำลีชุบน้ำยาฆ่าเชื้อชิ้นเล็กๆ วางไว้บริเวณเล็บที่ขบ หากทำได้ให้สอดเข้าใต้ขอบเล็บ เพื่อช่วยให้เล็บงอกพ้นผิวหนังออกไป หมั่นเปลี่ยนสำลีทุกวันจนกว่าอาการเจ็บและรอยแดงช้ำจะหายไป

มะกรูดเยียวยาเล็บขึ้นรา
    
   แม้เล็บจะเป็นเซลล์ที่ตายแล้ว แต่หากปล่อยปละละเลยไม่สนใจทำความสะอาด การสัมผัสกับความอับชื้นก็ทำให้เกิดเชื้อราจำพวกกลากและแคนดิดา (candida) ที่เล็บได้ การติดเชื้อที่เล็บนี้มักเริ่มจากการเป็นปื้นสีขาวที่ขอบเล็บด้านข้าง หรือปลายเล็บ แล้วขยายช้าๆ จนขาวขุ่นทั้งเล็บ เล็บจะหนาตัวขึ้น มีขุยใต้เล็บ บางกรณีอาจมีเล็บเปราะ ขรุขระ บางครั้งอาจมีหนองร่วมด้วย
   นอกจากสาเหตุของการไม่รักษาความสะอาดแล้ว เล็บติดเชื้อรายังมักพบในผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ เช่น ในคนเป็นโรคเบาหวาน โรคเอดส์ ฯลฯ เล็บติดเชื้อราสามารถแก้ไขได้ด้วยมะกรูดก้นครัวเรานี่เอง เพราะมะกรูดมีฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราได้ดี นำมะกรูดมาคั้นเอาน้ำ นำน้ำมะกรูดทาบ่อยๆ อาการก็จะดีขึ้น น้ำมันทีทรี  (tea tree oil) เป็นอีกอย่างหนึ่งที่ใช้ได้ผลดี ใช้สำลีชุบทาบ่อยๆ บริเวณเล็บและผิวหนังโดยรอบ
        
   เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายและสร้างความแข็งแรงให้เล็บ แนะนำให้กินหัวหอม กระเทียม อาหารที่มีสังกะสี อย่างปลา หอย ธัญพืชไม่ขัดขาว ถั่วฝัก เพิ่มอาหารที่มีวิตามินซี เพื่อช่วยในการรักษาแผล เช่น ส้มและผลไม้จำพวกส้ม บร็อคโคลี่ พริก และผักทุกชนิด พร้อมทั้งเสริมอาหารมีฟลาโวนอยด์ที่มีสารแอนตี้ออกซิแดนท์ อย่างธัญพืชไม่ขัดขาว ผักและผลไม้สีสด
   และท้ายสุดคืออาหารที่มีกรดไขมันโอเมก้า-3 อย่างปลาที่มีมันมาก เช่น ปลาแซลมอน ปลาทูน่า

              Link   https://www.cheewajit.com

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร
โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร
โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร

       ขนคิ้วหลุดร่วง->ต่อมไทรอยด์ผิดปกติ
       
       
ในวันที่มิได้แต่งหน้าแต่งตา ลองส่องกระจกมองหน้าที่เปลือยเปล่าเครื่องสำอางของคุณดูค่ะ สังเกตที่บริเวณคิ้วว่าสั้นลงหรือไม่ วิธีง่ายๆ ที่จะทำให้มองเห็นได้อย่างชัดเจนคือ ลองเอาดินสอ หรือไม้บรรทัดตรงๆ วางทาบจากหางตาขึ้นไปยังหางคิ้ว หากพบว่าขนที่บริเวณหางคิ้วหลุดร่วง จนคิ้วสั้นกุด อาจเป็นไปได้ว่าคุณมีปัญหาที่ต่อมไทรอยด์ (Thyroid) เข้าแล้ว!
       
       
ต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ (Thyroxin) ซึ่งมีหน้าที่ในการเผาผลาญอาหารเพื่อให้พลังงานแก่ร่างกาย เสริมสร้างและซ่อมแซมเซลล์ (cell) ที่สึกหรอในร่างกาย ฉะนั้นหากต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ เซลล์ในร่างกายก็จะเสื่อมโทรมส่งผลให้เกิดอาการขนคิ้ว (โดยเฉพาะบริเวณปลายคิ้ว) หลุดร่วง, เส้นผมแห้งและหลุดร่วงง่าย, น้ำหนักเพิ่มขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ, รู้สึกเหนื่อยง่าย, และท้องผูกอีกด้วย
       
       
สิ่งที่ต้องทำ เมื่อสังเกตเห็นอาการเหล่านี้ ต้องรีบไปพบแพทย์อย่างด่วนจี๋ เพื่อตรวจเลือด วัดระดับฮอร์โมนไทรอยด์ หากพบว่าฮอร์โมนดังกล่าวต่ำลง หรือสูงเกินไป จะได้รีบเยียวยารักษาให้ระดับไทรอยด์ฮอร์โมนกลับมาอยู่ในระดับปกติ ตามที่ควรจะเป็น
     

โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร
โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร
โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร

       นิ้วนางยาวกว่านิ้วชี้->ไขข้ออาจอักเสบ
       
       
เมื่อปี 2008 มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย ในวารสารทางการแพทย์ด้านโรคไขข้ออักเสบว่า หญิงที่มีนิ้วนาง ยาวกว่านิ้วชี้มีความเสี่ยงที่จะป่วยเป็นโรคปวดข้อ และไขข้ออักเสบมากขึ้นเป็นสองเท่า พูดง่ายๆ ก็คือ หากคุณสาวๆ มีนิ้วนางสั้นกว่า หรือเท่ากับนิ้วชี้ ก็โล่งใจได้ ทว่าหากนิ้วนางยาวกว่านิ้วชี้ คงต้องคิดหนัก!
       
       
แม้นักวิทยาศาสตร์จะยังให้คำ ตอบที่ชัดเจนไม่ได้ว่า เรื่องความยาวของนิ้วนางเกี่ยวข้องกับโรคปวดข้อ และโรคไขข้ออักเสบได้อย่างไร แต่ก็มีการสันนิษฐานว่าเรื่องนี้ น่าจะเกี่ยวข้องกับการสร้างฮอร์โมนเทสโตสเตอโรน (Testosterone = ฮอร์โมนเพศชาย) ที่มีการสร้างมาตั้งแต่ก่อนคลอด
       
       
มีการค้นพบว่า ฮอร์เทสโตสเตอโรนนี้มีความสัมพันธ์กับความยาวของนิ้วนาง (หากผู้หญิงคนใดมีฮอร์เทสโตสเตอโรนมาก นิ้วนางก็จะยาว) เมื่อมีฮอร์เทสโตสเตอโรน อยู่ในตัวมาก ก็จะทำให้สาวนางนั้น มีฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen= ฮอร์โมนเพศหญิง) น้อย ซึ่งฮอร์โมนเอสโตรเจนนี้เองที่มีส่วนสำคัญในการสร้างกระดูกและฟัน เมื่อมีฮอร์โมนเอสโตรเจนน้อย พอถึงวัยทอง หรือยามแก่เฒ่า สาวนางนั้นจึงมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อ และโรคไขข้ออักเสบมากขึ้นนั่นเอง
       
       
สิ่งที่ต้องทำ ไม่ว่าคุณจะมีนิ้วนางสั้นหรือยาว ก็อย่าเพิ่งกลุ้ม เพราะแม้คุณจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงความยาวของนิ้วที่มีมาตั้งแต่เกิดได้ แต่ก็สามารถลดความเสี่ยง ด้วยการหันมาใส่ใจสุขภาพตัวเอง ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์พอเหมาะ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ แค่นี้ก็ช่วยให้คุณหลีกไกลโรคข้อเสื่อมได้มากแล้ว
     

โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร
โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร
โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร

       เล็บเหลือง->เบาหวานมาเยือน
       
       
หงายเล็บขึ้นมาดูสักนิด หากคุณเป็นสาวที่ไม่ค่อยได้ทาเล็บ ดูแลเล็บเป็นอย่างดี แต่เล็บเจ้ากรรมแทนที่จะสีชมพูสดระเรื่อ ดั๊นกลายเป็นสีเหลืองซะงั้น! เรื่องนี้อาจเป็นสัญญาณที่บอกเหตุได้ว่าคุณอาจเป็นโรคเบาหวาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณปัสสาวะบ่อย แถมรู้สึกเหนื่อย อ่อนเพลียร่วมด้วย อันนี้ยิ่งน่าห่วงเลยค่ะ
       
       
สาเหตุที่ผู้ป่วยเบาหวานมักมีเล็บเหลือง ก็เนื่องมาจากการที่น้ำตาลซึ่งมีอยู่มากในร่างกาย ไปรวมตัวเข้ากับคอลลาเจน (Collagen) และโปรตีน (Protein) ในเล็บ จึงทำให้เล็บเปลี่ยนจากสีชมพูไปเป็นสีเหลืองได้
       
       
สิ่งที่ต้องทำ เมื่อมีอาการเล็บเหลืองร่วมกับอาการเข้าห้องน้ำบ่อย หรืออ่อนเพลีย แนะนำให้ไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด ถ้าพบว่าเป็นโรคเบาหวานจะได้ดูแลป้องกัน และควบคุมไม่ให้ระดับน้ำตาลสูง จนเกิดอันตรายร้ายแรงต่อร่างกาย
     

โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร
โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร
โรคเล็บเหลืองเกิดจาก โรคเล็บเปราะ โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร

       หนวดเฟิ้ม-ขนพรึ่บ->ถุงน้ำตรึมในรังไข่
       
       
หากจู่ๆ คุณเกิดมีขนเส้นดำๆ หยาบกระด้าง เพิ่มขึ้นมาในร่างกายอย่างผิดปกติ เช่น มีขนขึ้นบนริมฝีปาก ทำให้จากสาวหน้าเด็กแทบกลายเป็นหนุ่มหน้าเข้มสไตล์เพื่อชีวิต หรือขนหนาดำบริเวณหน้าอกหน้าท้อง ต้องเอะใจแล้วหล่ะค่ะ
       
       
เดิมทีคุณไม่เคยมีขนในบริเวณเหล่านั้น แล้ววันดีคืนดี ขนเจ้ากรรมขึ้นพรึ่บไปหมดน่ะ ตีความได้ว่าคุณอาจเป็นโรค Polycystic (PCOS) หรือการมีถุงน้ำจำนวนมากในรังไข่ ทำให้ระดับฮอร์โมนเพศชายสูงขึ้น ซึ่งการที่ฮอร์โมนเพศชายสูงขึ้นนี้เอง ทำให้คุณกลายเป็นสาวมีหนวดเฟิ้ม ขนดำทะมึนทั่วกาย รวมถึงยังอาจมีภาวะผิวแตกลายเป็นสีกระดำกระด่าง, เกิดสิวเรื้อรัง, น้ำหนักเพิ่มขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ, ประจำเดือนมาไม่ปกติ
       
       นอกจากนี้ยังเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน และเกิดภาวะมีบุตรยากอีกด้วย
       
       
สิ่งที่ต้องทำ หากพบอาการขนขึ้นเยอะผิดปกติแบบนี้ แนะนำให้รีบบึ่งไปพบแพทย์ เพื่อตรวจได้ชัด รักษาได้อย่างตรงจุดต่อไป
       
       เรียบเรียงจากไชน์
              
       
       
       >>
อัพเดตข่าวในแวดวงสังคม ก็อซซิป แฟชั่น ความงาม และเที่ยว กิน ดื่ม เพิ่มเติมได้ที่ 
 https://www.celeb-online.net

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++



            โรคเล็บเหลืองแก้ไขอย่างไร,

เล็บเหลือง ขนคิ้วร่วง.. สัญญาณบ่งบอกโรคที่คุณคาดไม่ถึง

ร่างกายเราน่ะฉลาดล้ำ ต้องการอะไรก็สื่อสารออกมาให้เจ้าของร่างกายรู้สึก.. เวลาท้องว่างก็ร้องโครกคราก เพื่อให้เจ้าของกระเพาะเกิดรู้สึกหิว เตือนคุณว่าถึงเวลากินอาหารแล้วจ๊ะซักที เท่านั้นไม่พอ คุณรู้ไหมว่าสภาพอวัยวะร่างกายคุณที่เปลี่ยนแปลง อาทิ เล็บที่เคยอมชมพูกลับกลายเป็นสีเหลือง ฯลฯ ไม่ใช่เพราะเล็บซีดจากการทาสีบ่อยๆ หรอกนะคะ หากคุณกำลังเป็นโรคบางอย่างอยู่น่ะสิ!

…มีหลากหลายอาการอวัยวะที่ไม่เหมือนเดิม และคุณเองอาจไม่ทันสังเกต

…เราจึงอาสาพาคุณสำรวจร่างกายตัวเองตั้งศีรษะจรดปลายเท้ากันเลยค่ะว่า แต่ละสังขารอันไม่เที่ยงนั้น กำลังส่งสัญญาณโรคภัยไข้เจ็บชนิดไหน และควรป้องกันรักษาอย่างไร

ขนคิ้วหลุดร่วง->ต่อมไทรอยด์ผิดปกติ

ในวันที่มิได้แต่งหน้าแต่งตา ลองส่องกระจกมองหน้าที่เปลือยเปล่าเครื่องสำอางของคุณดูค่ะ สังเกตที่บริเวณคิ้วว่าสั้นลงหรือไม่ วิธีง่ายๆ ที่จะทำให้มองเห็นได้อย่างชัดเจนคือ ลองเอาดินสอ หรือไม้บรรทัดตรงๆ วางทาบจากหางตาขึ้นไปยังหางคิ้ว หากพบว่าขนที่บริเวณหางคิ้วหลุดร่วง จนคิ้วสั้นกุด อาจเป็นไปได้ว่าคุณมีปัญหาที่ต่อมไทรอยด์ (Thyroid) เข้าแล้ว!

ต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ (Thyroxin) ซึ่งมีหน้าที่ในการเผาผลาญอาหารเพื่อให้พลังงานแก่ร่างกาย เสริมสร้างและซ่อมแซมเซลล์ (cell) ที่สึกหรอในร่างกาย ฉะนั้นหากต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ เซลล์ในร่างกายก็จะเสื่อมโทรมส่งผลให้เกิดอาการขนคิ้ว (โดยเฉพาะบริเวณปลายคิ้ว) หลุดร่วง, เส้นผมแห้งและหลุดร่วงง่าย, น้ำหนักเพิ่มขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ, รู้สึกเหนื่อยง่าย, และท้องผูกอีกด้วย

สิ่งที่ต้องทำ เมื่อสังเกตเห็นอาการเหล่านี้ ต้องรีบไปพบแพทย์อย่างด่วนจี๋ เพื่อตรวจเลือด วัดระดับฮอร์โมนไทรอยด์ หากพบว่าฮอร์โมนดังกล่าวต่ำลง หรือสูงเกินไป จะได้รีบเยียวยารักษาให้ระดับไทรอยด์ฮอร์โมนกลับมาอยู่ในระดับปกติ ตามที่ควรจะเป็น

นิ้วนางยาวกว่านิ้วชี้->ไขข้ออาจอักเสบ

เมื่อปี 2008 มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย ในวารสารทางการแพทย์ด้านโรคไขข้ออักเสบว่า หญิงที่มีนิ้วนาง ยาวกว่านิ้วชี้มีความเสี่ยงที่จะป่วยเป็นโรคปวดข้อ และไขข้ออักเสบมากขึ้นเป็นสองเท่า พูดง่ายๆ ก็คือ หากคุณสาวๆ มีนิ้วนางสั้นกว่า หรือเท่ากับนิ้วชี้ ก็โล่งใจได้ ทว่าหากนิ้วนางยาวกว่านิ้วชี้ คงต้องคิดหนัก!

แม้นักวิทยาศาสตร์จะยังให้คำตอบที่ชัดเจนไม่ได้ว่า เรื่องความยาวของนิ้วนางเกี่ยวข้องกับโรคปวดข้อ และโรคไขข้ออักเสบได้อย่างไร แต่ก็มีการสันนิษฐานว่าเรื่องนี้ น่าจะเกี่ยวข้องกับการสร้างฮอร์โมนเทสโตสเตอโรน (Testosterone = ฮอร์โมนเพศชาย) ที่มีการสร้างมาตั้งแต่ก่อนคลอด

มีการค้นพบว่า ฮอร์เทสโตสเตอโรนนี้มีความสัมพันธ์กับความยาวของนิ้วนาง (หากผู้หญิงคนใดมีฮอร์เทสโตสเตอโรนมาก นิ้วนางก็จะยาว) เมื่อมีฮอร์เทสโตสเตอโรน อยู่ในตัวมาก ก็จะทำให้สาวนางนั้น มีฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen= ฮอร์โมนเพศหญิง) น้อย ซึ่งฮอร์โมนเอสโตรเจนนี้เองที่มีส่วนสำคัญในการสร้างกระดูกและฟัน เมื่อมีฮอร์โมนเอสโตรเจนน้อย พอถึงวัยทอง หรือยามแก่เฒ่า สาวนางนั้นจึงมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อ และโรคไขข้ออักเสบมากขึ้นนั่นเอง

สิ่งที่ต้องทำ ไม่ว่าคุณจะมีนิ้วนางสั้นหรือยาว ก็อย่าเพิ่งกลุ้ม เพราะแม้คุณจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงความยาวของนิ้วที่มีมาตั้งแต่เกิดได้ แต่ก็สามารถลดความเสี่ยง ด้วยการหันมาใส่ใจสุขภาพตัวเอง ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์พอเหมาะ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ แค่นี้ก็ช่วยให้คุณหลีกไกลโรคข้อเสื่อมได้มากแล้ว

เล็บเหลือง->เบาหวานมาเยือน

หงายเล็บขึ้นมาดูสักนิด หากคุณเป็นสาวที่ไม่ค่อยได้ทาเล็บ ดูแลเล็บเป็นอย่างดี แต่เล็บเจ้ากรรมแทนที่จะสีชมพูสดระเรื่อ ดั๊นกลายเป็นสีเหลืองซะงั้น! เรื่องนี้อาจเป็นสัญญาณที่บอกเหตุได้ว่าคุณอาจเป็นโรคเบาหวาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณปัสสาวะบ่อย แถมรู้สึกเหนื่อย อ่อนเพลียร่วมด้วย อันนี้ยิ่งน่าห่วงเลยค่ะ

สาเหตุที่ผู้ป่วยเบาหวานมักมีเล็บเหลือง ก็เนื่องมาจากการที่น้ำตาลซึ่งมีอยู่มากในร่างกาย ไปรวมตัวเข้ากับคอลลาเจน (Collagen) และโปรตีน (Protein) ในเล็บ จึงทำให้เล็บเปลี่ยนจากสีชมพูไปเป็นสีเหลืองได้

สิ่งที่ต้องทำ เมื่อมีอาการเล็บเหลืองร่วมกับอาการเข้าห้องน้ำบ่อย หรืออ่อนเพลีย แนะนำให้ไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด ถ้าพบว่าเป็นโรคเบาหวานจะได้ดูแลป้องกัน และควบคุมไม่ให้ระดับน้ำตาลสูง จนเกิดอันตรายร้ายแรงต่อร่างกาย

หนวดเฟิ้ม-ขนพรึ่บ->ถุงน้ำตรึมในรังไข่

หากจู่ๆ คุณเกิดมีขนเส้นดำๆ หยาบกระด้าง เพิ่มขึ้นมาในร่างกายอย่างผิดปกติ เช่น มีขนขึ้นบนริมฝีปาก ทำให้จากสาวหน้าเด็กแทบกลายเป็นหนุ่มหน้าเข้มสไตล์เพื่อชีวิต หรือขนหนาดำบริเวณหน้าอกหน้าท้อง ต้องเอะใจแล้วหล่ะค่ะ

เดิมทีคุณไม่เคยมีขนในบริเวณเหล่านั้น แล้ววันดีคืนดี ขนเจ้ากรรมขึ้นพรึ่บไปหมดน่ะ ตีความได้ว่าคุณอาจเป็นโรค Polycystic (PCOS) หรือการมีถุงน้ำจำนวนมากในรังไข่ ทำให้ระดับฮอร์โมนเพศชายสูงขึ้น ซึ่งการที่ฮอร์โมนเพศชายสูงขึ้นนี้เอง ทำให้คุณกลายเป็นสาวมีหนวดเฟิ้ม ขนดำทะมึนทั่วกาย รวมถึงยังอาจมีภาวะผิวแตกลายเป็นสีกระดำกระด่าง, เกิดสิวเรื้อรัง, น้ำหนักเพิ่มขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ, ประจำเดือนมาไม่ปกติ

นอกจากนี้ยังเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน และเกิดภาวะมีบุตรยากอีกด้วย

สิ่งที่ต้องทำ หากพบอาการขนขึ้นเยอะผิดปกติแบบนี้ แนะนำให้รีบบึ่งไปพบแพทย์ เพื่อตรวจได้ชัด รักษาได้อย่างตรงจุดต่อไป

ที่มา : หนังสือพิมพ์ASTV ผู้จัดการ

       Link   https://www.thaihealth.or.th

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

อัพเดทล่าสุด