https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
โรคกล้ามเนื้อสลายตัว การรักษาโรคกล้ามเนื้ออักเสบ โรคกล้ามเนื้ออักเสบ MUSLIMTHAIPOST

 

โรคกล้ามเนื้อสลายตัว การรักษาโรคกล้ามเนื้ออักเสบ โรคกล้ามเนื้ออักเสบ


895 ผู้ชม


โรคกล้ามเนื้อสลายตัว การรักษาโรคกล้ามเนื้ออักเสบ โรคกล้ามเนื้ออักเสบ

              โรคกล้ามเนื้อสลายตัว

รู้เรื่องโรค : โรคกล้ามเนื้อสลายตัว

 

By phyathaihospital @ Mon, 12 Sep 2011 02:40 PM

รายการ The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ

รายการ The Symptom เกมหมอ ยอดนักสืบ โรคกล้ามเนื้อสลายตัว thailand

 
รคกล้ามเนื้ออักเสบ

โรคกล้ามเนื้ออักเสบ
           โรคกล้ามเนื้ออักเสบทั่วตัว เป็นโรคในกลุ่มโรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่งที่มีลักษณะเด่นคือ มีการอักเสบของกล้ามเนื้อต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ในรายที่เป็นอย่างรุนแรงอาจมีกล้ามเนื้ออ่อนแรงจนไม่สามารถลุกจากเตียงหรือ เดินได้ มีกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจอักเสบ ทำให้ระบบหายใจล้มเหลว

สาเหตุของโรคกล้ามเนื้ออักเสบ
          สาเหตุของโรคกล้ามเนื้ออักเสบทั่วตัวยังไม่ทราบ แต่จากการศึกษาพบว่ามีความผิดปกติทางระบบอิมมูนของร่างกาย

อาการแสดงของโรค
1  อาการปวดตามข้อ

2  ปวดตามกล้ามเนื้อ

3  อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อส่วนต้นของร่างกาย

4  มีอาการลุกเดินลำบาก ยกแขนไม่ค่อยขึ้น หรือไม่สามารถยกศีรษะขึ้นจากหมอนเวลานอน

 5  อาการหายใจลำบาก กลืนลำบาก หรือสำลักอาหารเวลากลืน

6  มีผื่นบริเวณใบหน้าและลำคอร่วมด้วย  

โรคนี้พบได้น้อย แต่พบได้บ่อยในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุที่พบอยู่ในช่วง 30-50 ปี

การรักษาโรค
การรักษาโรคประกอบไปด้วย 2 ส่วน
          1. การรักษาทางยา การใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ในขนาดสูงเป็นเวลานาน เพื่อลดการอักเสบของกล้ามเนื้อ เนื่องจากยานี้มีผลข้างเคียงมาก ผู้ป่วยจึงควรติดตามการรักษาอย่างสม่ำเสมอ ในรายที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา แพทย์อาจพิจารณาใช้ยากดภูมิคุ้มกันในการรักษาด้วย
          2. การทำกายภาพบำบัด มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการรักษา การทำกายภาพบำบัดจะเป็นการป้องกันไม่ให้กล้ามเนื้อหดตัวแข็ง ป้องกันข้อติด และส่งเสริมความแข็งแกร่งของกล้ามเนื้อ เป็นการให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นฟูสภาพและช่วยตนเองได้เร็วขึ้น
          โรค นี้มีการพยากรณ์แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค ในรายที่เป็นผู้ป่วยสูงอายุ มีการกลืนลำบาก หรือระบบหายใจล้มเหลว หรือในรายที่กล้ามเนื้อถูกทำลายมากจากการตรวจทางพยาธิของกล้ามเนื้อจะมีการ พยากรณ์โรคที่ไม่ดี

                 Link     https://www.learners.in.th

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++


 

                 โรคกล้ามเนื้ออักเสบ

โรคกล้ามเนื้ออักเสบ

โรคกล้ามเนื้ออักเสบทั่วตัวคืออะไร ?
           โรคกล้ามเนื้ออักเสบทั่วตัว เป็นโรคในกลุ่มโรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่งที่มีลักษณะเด่นคือ มีการอักเสบของกล้ามเนื้อต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ในรายที่เป็นอย่างรุนแรงอาจมีกล้ามเนื้ออ่อนแรงจนไม่สามารถลุกจากเตียงหรือ เดินได้ มีกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจอักเสบ ทำให้ระบบหายใจล้มเหลว

สาเหตุของโรคกล้ามเนื้ออักเสบทั่วตัวคืออะไร ?
          สาเหตุของโรคกล้ามเนื้ออักเสบทั่วตัวยังไม่ทราบ แต่จากการศึกษาพบว่ามีความผิดปกติทางระบบอิมมูนของร่างกาย


ผู้ใดบ้างที่อาจเป็นโรคนี้ ?
          โรคนี้พบได้น้อย แต่พบได้บ่อยในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุที่พบอยู่ในช่วง 30-50 ปี

อาการแสดงของโรคนี้มีอะไรบ้าง ?
          อาการเริ่มแรกคือ อาการปวดตามข้อ ปวดตามกล้ามเนื้อ ติดตามมาด้วยอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อส่วนต้นของร่างกาย ผู้ป่วยจะมีอาการลุกเดินลำบาก ยกแขนไม่ค่อยขึ้น หรือไม่สามารถยกศีรษะขึ้นจากหมอนเวลานอน ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจมีอาการหายใจลำบาก กลืนลำบาก หรือสำลักอาหารเวลากลืน และจำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ ในบางรายอาจมีผื่นบริเวณใบหน้าและลำคอร่วมด้วย

แพทย์จะวินิจฉัยโรคนี้ได้อย่างไร ?
          แพทย์จะให้การวินิจฉัยจากประวัติและการตรวจร่างกายร่วมกับการตรวจ เลือด การตรวจคลื่นไฟฟ้าของกล้ามเนื้อ และการตัดตรวจชิ้นเนื้อของกล้ามเนื้อ การตรวจเลือดยังใช้ในการติดตามการรักษาโรคด้วย

การรักษาโรคนี้ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง ?
การรักษาโรคนี้ประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ
          1. การรักษาทางยา การใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ในขนาดสูงเป็นเวลานาน เพื่อลดการอักเสบของกล้ามเนื้อ เนื่องจากยานี้มีผลข้างเคียงมาก ผู้ป่วยจึงควรติดตามการรักษาอย่างสม่ำเสมอ ในรายที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา แพทย์อาจพิจารณาใช้ยากดภูมิคุ้มกันในการรักษาด้วย
          2. การทำกายภาพบำบัด มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการรักษา การทำกายภาพบำบัดจะเป็นการป้องกันไม่ให้กล้ามเนื้อหดตัวแข็ง ป้องกันข้อติด และส่งเสริมความแข็งแกร่งของกล้ามเนื้อ เป็นการให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นฟูสภาพและช่วยตนเองได้เร็วขึ้น

การพยากรณ์ของโรคนี้เป็นอย่างไร ?
          โรคนี้มีการพยากรณ์แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค ในรายที่เป็นผู้ป่วยสูงอายุ มีการกลืนลำบาก หรือระบบหายใจล้มเหลว หรือในรายที่กล้ามเนื้อถูกทำลายมากจากการตรวจทางพยาธิของกล้ามเนื้อจะมีการ พยากรณ์โรคที่ไม่ดี


                Link     https://www.thairheumatology.org


++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

อัพเดทล่าสุด