https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
ซึมเศร้า, ธรรมชาติบำบัด, บมความสุขภาพ, บำบัดด้วยแสง, โรคซึมเศร้า MUSLIMTHAIPOST

 

ซึมเศร้า, ธรรมชาติบำบัด, บมความสุขภาพ, บำบัดด้วยแสง, โรคซึมเศร้า


884 ผู้ชม


แสงแดดช่วยบำบัด โรคซึมเศร้า

ต้องยอมรับว่าปัจจุบันนี้ผู้ป่วย โรคซึมเศร้า นั้นมีจำนวนมากขึ้น ไม่ว่าจะเพราะปัจจัยทางด้านความเครียด ฮอร์โมนภาวะกดดันในจิตใจ ฯลฯ โดยส่วนใหญ่มักมีความรู้สึกเหนื่อยอ่อน วิตกกังวล และง่วงซึม ซึ่งนับเป็นส่วนหนึ่งของอาการของผู้ป่วย โรคซึมเศร้า

ซึมเศร้า, ธรรมชาติบำบัด, บมความสุขภาพ, บำบัดด้วยแสง, โรคซึมเศร้า

ซึ่งโรคนี้สามารถรักษาให้หายด้วยการบำบัดทางยา จิตบำบัด และธรรมชาติบำบัด โดยเฉพาะการบำบัดด้วยแสง ซึ่งพิสูจน์แล้วว่าการ
ได้รับแสงแดดทุกเช้าเป็นเวลา 30 – 60 นาที จะช่วยรักษาอาการเหล่านี้ได้ แสงแดดอ่อนๆ จะช่วยลดฮอร์โมนเมลาโทนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สร้างขึ้นจากต่อมไพเนียเพื่อควบคุมการนอนหลับ โดยเมลาโทนินนั้นจะถูกกระตุ้นด้วยความมืดและยับยั้งด้วยแสงสว่าง ดังนั้นการได้รับแสงแดดยามเช้าจึงช่วยให้ผู้ป่วยสดชื่นและกระปรี้กระเปร่าขึ้นได้

แต่ถึงแม้ว่าเมลาโทนินจะเป็นผลเสียกับผู้ป่วย โรคซึมเศร้า แต่สำหรับคนทั่วไปควรเข้านอนแต่หัวค่ำ เพื่อให้ร่างกายได้ผลิตสารดังกล่าวเพื่อจะเป็นส่วนช่วยในการต้านอนุมูลอิสระ และทำให้ริ้วรอยก่อนวัยไม่มาเร็วเกินไป แถมยังช่วยให้เราหลับฝันดีอีกด้วย ดังนั้นจะใช้แสงในการบำบัดร่างกายอย่างไรก็ควรเลือกให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลด้วย

ขอบคุณที่มาจาก : นิตยสารคู่หูเดินทาง


อัพเดทล่าสุด