กลไกการหายใจระดับเซล : Mitochondria : ผู้สร้างพลังงาน MUSLIMTHAIPOST

 

กลไกการหายใจระดับเซล : Mitochondria : ผู้สร้างพลังงาน


542 ผู้ชม


ในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 นักวิทยาศาสตร์ใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูง ค้นพบสิ่งที่ไม่เคยเห็นมาก่อน นั่นคือ โครงสร้างเล็กๆ ที่แอบแฝงภายในเซลล์เกือบทุกชนิด มันมีเยื่อหุ้มสองชั้น และมีความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนรูปร่าง .... นับร้อยปีหลังจากนั้น น   

ในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 นักวิทยาศาสตร์ใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูง ค้นพบสิ่งที่ไม่เคยเห็นมาก่อน นั่นคือ โครงสร้างเล็กๆ ที่แอบแฝงภายในเซลล์เกือบทุกชนิด มันมีเยื่อหุ้มสองชั้น และมีความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนรูปร่าง .... นับร้อยปีหลังจากนั้น นักวิทยาศาสตร์หลายคนได้เชื่อมโยงความคิดเข้าด้วยกัน และพวกเขาเรียกโครงสร้างเหล่านี้ว่า ไมโตคอนเดรีย(mitochondria) 

แหล่งภาพ :www.manager.co.th


หนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ผู้มีส่วนร่วมในคลื่นลูกแรกแห่งการค้นพบไมโตคอนเดรีย คือ บริตตัน แชนจ์ (Britton Chance)(ค.ศ.1913 - ปัจจุบัน) ผลงานของเขาได้แก่ การประดิษฐ์เครื่อง Dual Wavelength Spectrophotometer เครื่องมือที่ช่วยนักวิทยาศาสตร์เห็นภาพที่ชัดเจนขึ้นว่าไมโตคอนเดรียทำงานอย่างไร 

 

แหล่งภาพ : www.manager.co.th
ปัจจุบันเขาเป็นอาจารย์ ไบโอฟิสิกส์ ที่มหาวิทยาลัยเพนซิวาเนีย (University of Pennsylvania) เขาสร้างเครื่องมือชิ้นหนึ่ง เครื่องมือเหล่านี้สามารถมองผ่านความซับซ้อนของเซลล์ได้ เพราะเซลล์มี เยื่อหุ้มเซลล์ ผนังเซลล์ และสิ่งที่ทำให้เกิดการกระจายแสง ถ้าเรานำมันมาส่องกับแสง จะเห็นเป็นฝอยมัวๆ การสร้างเครื่องมือที่ขจัดความพร่ามัว และพบองค์ประกอบสองอย่างก็เพื่อเชื่อมโยงไมโตคอนเดรียกับวงจรเครบ (Kreb's cycle) ของ ฮานส์ เครบส์ (Hans Krebs) นั่นเอง !! และนี่จึงเป็นการเชื่อมทุกอย่างเข้าด้วยกัน ทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างบทบาทของเอนไซม์ (enzyme) กับห่วงโซ่พลังงานทั้งหมด !! 
ไมโตคอนเดรียจะต้องมีประสิทธิภาพสูงในการจัดการกับอาหารที่เซลล์รวบรวมเอาไว้ และสิ่งนี้เรียกว่า "การควบคุมกระบวนการหายใจในระดับเซลล์" หรือพูดง่ายๆ ก็คือ คนเราจะออกแรงเป็นบ้าเป็นหลังเมื่อไหร่ก็ได้ จากนั้น พอเราหยุด พลังงานก็จะค่อยๆ คืนกลับมา คือ ไม่ต้องทานยาหรือว่าฉีดยา ไมโตคอนเดรียจะสร้างพลังงานที่ขาดหายไปขึ้นมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง พอหลังจากนั้นมันก็จะหยุดพัก ....

แหล่งภาพ :www.manager.co.th


หนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ผู้มีส่วนร่วมในคลื่นลูกแรกแห่งการค้นพบไมโตคอนเดรีย คือ บริตตัน แชนจ์ (Britton Chance)(ค.ศ.1913 - ปัจจุบัน) ผลงานของเขาได้แก่ การประดิษฐ์เครื่อง Dual Wavelength Spectrophotometer เครื่องมือที่ช่วยนักวิทยาศาสตร์เห็นภาพที่ชัดเจนขึ้นว่าไมโตคอนเดรียทำงานอย่างไร 

 

แหล่งภาพ : www.manager.co.th
ปัจจุบันเขาเป็นอาจารย์ ไบโอฟิสิกส์ ที่มหาวิทยาลัยเพนซิวาเนีย (University of Pennsylvania) เขาสร้างเครื่องมือชิ้นหนึ่ง เครื่องมือเหล่านี้สามารถมองผ่านความซับซ้อนของเซลล์ได้ เพราะเซลล์มี เยื่อหุ้มเซลล์ ผนังเซลล์ และสิ่งที่ทำให้เกิดการกระจายแสง ถ้าเรานำมันมาส่องกับแสง จะเห็นเป็นฝอยมัวๆ การสร้างเครื่องมือที่ขจัดความพร่ามัว และพบองค์ประกอบสองอย่างก็เพื่อเชื่อมโยงไมโตคอนเดรียกับวงจรเครบ (Kreb's cycle) ของ ฮานส์ เครบส์ (Hans Krebs) นั่นเอง !! และนี่จึงเป็นการเชื่อมทุกอย่างเข้าด้วยกัน ทำให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างบทบาทของเอนไซม์ (enzyme) กับห่วงโซ่พลังงานทั้งหมด !! 
ไมโตคอนเดรียจะต้องมีประสิทธิภาพสูงในการจัดการกับอาหารที่เซลล์รวบรวมเอาไว้ และสิ่งนี้เรียกว่า "การควบคุมกระบวนการหายใจในระดับเซลล์" หรือพูดง่ายๆ ก็คือ คนเราจะออกแรงเป็นบ้าเป็นหลังเมื่อไหร่ก็ได้ จากนั้น พอเราหยุด พลังงานก็จะค่อยๆ คืนกลับมา คือ ไม่ต้องทานยาหรือว่าฉีดยา ไมโตคอนเดรียจะสร้างพลังงานที่ขาดหายไปขึ้นมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง พอหลังจากนั้นมันก็จะหยุดพัก ....
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1445

อัพเดทล่าสุด