https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
ยอดนักเรียนสมัครสอบ GAT-PAT รอบพิเศษเพิ่มเติม MUSLIMTHAIPOST

 

ยอดนักเรียนสมัครสอบ GAT-PAT รอบพิเศษเพิ่มเติม


1,957 ผู้ชม


ครั้งที่ 1/2554 (สอบเดือน มี.ค. 2554) รอบพิเศษเพิ่มเติม เนื่องจากปัญหาอุทกภัย   

เผยยอดสมัคร GAT-PAT รอบเพิ่มเติมพุ่ง 
เผยยอดนักเรียนสมัครสอบ GAT-PAT รอบพิเศษเพิ่มเติมพุ่งอีกนับหมื่นคน  

         รศ .ดร.สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผอ.สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เปิดเผยว่า จาก ที่สทศ.ได้เปิดรับสมัครทดสอบวัดความถนัดทั่วไปหรือGATและทดสอบวัดยอดนักเรียนสมัครสอบ GAT-PAT รอบพิเศษเพิ่มเติมความถนัดทางวิชาชีพ/วิชาการหรือ PATครั้งที่ 1/2554 (สอบเดือน มี.ค. 2554) รอบพิเศษเพิ่มเติม  เนื่องจากปัญาอุทกภัย โดยเปิดรับตั้งแต่วันที่ 9-14  ธ.ค.ที่ผ่านมา ผลปรากกฎว่า มีผู้สมัครและชำระเงินจำนวน 12,254  คน แบ่งเป็นผู้สมัครสอบ GAT จำนวน  10,616 คน PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ จำนวน 6,337 คน  PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 6,567  คน PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน  1,701 คน PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์  จำนวน 576 คน PAT 5 ความถนัดทางวิชาชีพครู จำนวน 4,091 คน PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์จำนวน 736  คน  PAT 7.1 ภาษาฝรั่งเศส จำนวน 230  คน PAT 7.2 เยอรมัน  จำนวน 105  คน PAT 7.3 ญี่ปุ่น จำนวน 148  คน PAT 7.4 จีนจำนวน 248  คน PAT 7.5 อาหรับ จำนวน 27 คน  และ PAT 7.6 บาลี จำนวน  44  คน 

อ่านข่าวเพิ่มเติมที่  https://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryID=42&contentID=110356
คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การนำเสนอข้อมูล (Statistical Presentation)

ข้อมูล (data) หรือ ข้อมูลดิบ หมายถึง ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น อาจจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ก็ได้ ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความถูกต้องแม่นยำ และเป็นปัจจุบัน เช่น ปริมาณ ระยะทาง ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ คะแนนของนักเรียน รายงาน บันทึก ฯลฯ

การนำเสนอข้อมูล
        การนำเสนอข้อมูล หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็น หรือความต้องการไปสู่ผู้รับสาร โดยใช้เทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ

ความสำคัญของการนำเสนอ
        ในปัจจุบันนี้การนำเสนอเข้ามามีบทบาทสำคัญในองค์กรทางธุรกิจทางการเมือง ทางการศึกษา หรือแม้แต่หน่วยงานของรัฐทุกแห่งก็ต้องอาศัยวิธีการนำเสนอเพื่อสื่อสารข้อมูลเสนอความเห็น เสนอขออนุมัติ 
หรือเสนอข้อสรุปผลการดำเนินงานต่าง ๆ กล่าวโดยสรุปการนำเสนอมีความสำคัญ ต่อการปฏิบัติงานทุกประเภท เพราะช่วยในการตัดสินใจในการดำเนินงาน ตลอดจนเผยแพร่ความก้าวหน้าของงานต่อผู้บังคับบัญชาและบุคคลผู้ที่สนใจ 
จุดมุ่งหมายในการนำเสนอ 
ยอดนักเรียนสมัครสอบ GAT-PAT รอบพิเศษเพิ่มเติมเพื่อให้ผู้รับสารรับทราบความคิดเห็นหรือความต้องการ 
เพื่อให้ผู้รับสารพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 
เพื่อให้ผู้รับสารได้รับความรู้จากข้อมูลที่นำเสนอ 
เพื่อให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง

ประเภทของการนำเสนอ
ประเภทของการนำเสนอแบ่งอย่างกว้าง ๆ มี 2 รูปแบบ ดังนี้ 
การนำเสนอเฉพาะกลุ่ม 
การนำเสนอทั่วไปในที่สาธารณะ 
ข้อมูลที่จะนำเสนอแบ่งออกตามลักษณะของข้อมูล ได้แก่ 
1. ข้อเท็จจริง 
2. ข้อคิดเห็น 
ประเภทของการนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลแบบอนุกรม 
        เมื่อเราพลิกไปในหน้าหนังสือพิมพ์ เรามักพบเห็นข้อมูลกราฟที่แสดงสภาพทางเศรษฐกิจต่างๆ เช่น ดัชนีตลาดหลัดทรัพย์ อัตราแลกเปลี่ยนเงิน ลักษณะของกราฟที่นำเสนอมักแสดงด้วยเส้นกราฟ 
ตัวอย่างของการนำเสนอยอดขายแต่ละปีของบริษัทแห่งหนึ่งตั้งแต่ปี คศ. 1975 จนถึงปี 1999 โดยมีข้อมูลดังนี้ 
        การพล็อตแบบอนุกรมเวลา เราให้แกน X เป็นแกนทางด้านเวลา และกราฟที่ พล็อต ก็เป็นกราฟเส้นตรง 
        กราฟเส้นเป็นกราฟที่แสดงให้เห็นแนวโน้มหรือสภาพการเจริญเติบโตที่เปลี่ยนแปลงไปตามแกน X เราจึงมักนำมาใช้ในเรื่องของอนุกรมเวลา เช่น กราฟแสดงการขาย กราฟแสดงการผลิต กราฟแสดงดัชนี 
ฮิสโตแกรม กราฟ HI - LO กราฟแท่ง กราฟวงกลม(pie chart)

สร้างกราฟให้สื่อความหมาย ยอดนักเรียนสมัครสอบ GAT-PAT รอบพิเศษเพิ่มเติม
กราฟ Scattering   การเขียนกราฟมีวิธีการนำเสนอได้หลายแบบ ตามสภาพที่ผู้เขียนต้องการนำเสนอ สมสุติว่ามีข้อมูลชุดหนึ่งเป็นข้อมูลราคาเฉลี่ยของหุ้นในแต่ละเดือน ของบริษัท ก และบริษัท ข การเขียน
กราฟมีจุดมุ่งหมายที่ต้องการเปรียบเทียบคู่ข้อมูลระหว่างเดือนเดียวกันลองดูตัวอย่างข้อมูล  การเปรียบเทียบกันระหว่างเดือนของแต่ละบริษัทจึงใช้วิธีการเขียนกราฟแบบ scatter ซึ่งให้แกน x แทนราคาหุ้นของบริษัท ก และแกน y แทนราคาหุ้นของบริษัท ข จุดที่เขียนได้จึงเป็นจุดที่เป็นคู่ลำดับของราคาหุ้นบริษัท ก และราคาหุ้นของบริษัท ข ซึ่งทุกจุดจึงเป็นสิ่งที่จะเปรียบเทียบกันได้ 
ที่มาของข้อมูลhttps://royalmusic.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AA
การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
         เป็นการจัดรูปในการนำเสนอข้อมูลในลักษณะแถว (row) และสดมภ์ (column) แถว หมายถึง การเรียงตามแนวนอน สดมภ์ หมายถึง การเรียงตามแนวตั้ง เพื่อจัดข้อมูลให้เป็นระเบียบหรือการจัดข้อมูลให้
%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5อยู่ในรูปที่อ่านความหมาย ได้ทั้งแถวตั้งและแถวนอน สัมพันธ์กัน ลักษณะของตารางไม่ตายตัว ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของผู้จัดทำ ถ้าต้องการที่จะให้ตารางเป็นที่เก็บข้อความทางสถิติอย่างละเอียด ตารางนั้นจะต้องมีขนาดและขอบเขตกว้างขว้างมากพอ โดยทั่วไปการนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง  จะจำแนกตามลักษณะต่างๆ ที่แบ่งตามหัวเรื่อง โดยแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ
1. ตารางแบบทางเดียว (one-way table) หมายถึง ตารางที่มีการจำแนกเพียงลักษณะเดียวเท่านั้น 
2. ตารางแบบสองทาง (two-way table) หมายถึง ตารางที่มีการจำแนกลักษณะสองลักษณะ 
3. ตารางแบบหลายทาง (multi-way table) หมายถึง ตารางที่มีการจำแนกตั้งแต่สามลักษณะ (three-way table) ขึ้นไปนั่นเอง  
ที่มาของข้อมูล https://thailocal.nso.go.th/nso-cms/%E0%B8%B4basic_knowledge/table.html

รูปแบบการนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูล (Statistical Presentation) หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็น หรือความต้องการไปสู่ผู้รับสาร โดยใช้เทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ

        ในปัจจุบันนี้การนำเสนอเข้ามามีบทบาทสำคัญในองค์กรทางธุรกิจทางการ เมือง ทางการศึกษา หรือแม้แต่หน่วยงานของรัฐทุกแห่งก็ต้องอาศัยวิธีการนำเสนอเพื่อสื่อสาร ข้อมูลเสนอความเห็น เสนอขออนุมัติ หรือเสนอข้อสรุปผลการดำเนินงานต่าง ๆ กล่าวโดยสรุปการนำเสนอมีความสำคัญ ต่อการปฏิบัติงานทุกประเภท เพราะช่วยในการตัดสินใจในการดำเนินงาน ตลอดจนเผยแพร่ความก้าวหน้าของงานต่อผู้บังคับบัญชาและบุคคลผู้ที่สนใจ

การนำเสนอข้อมูลมีทั้งหมด 5 ชนิดคือ 
ยอดนักเรียนสมัครสอบ GAT-PAT รอบพิเศษเพิ่มเติม•กราฟเส้นเชิงเดียว ( simple line graph ) คือ กราฟเส้นที่แสดงการเปรียบเทียบ ข้อมูลเพียงชุดเดียวหรือ ลักษณะเดียว
•กราฟเส้นเชิงซ้อน ( multiple line graph ) คือ กราฟที่แสดงการเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป 
•กราฟเส้นเชิงประกอบ ( composite line graph ) คือกราฟเส้นที่แสดงรายละเอียดหรือส่วนย่อย ของข้อมูลในชุดเดียวกันในช่วงเวลาที่ต่างกัน
•กราฟดุล ( balance graph ) คือ กราฟเส้นที่แสดงความแตกต่างระหว่างข้อมูลที่เราสนใจ 2 ลักษณะที่มีความ เกี่ยวข้องกัน เช่น รายรับ - รายจ่าย 
•กราฟกึ่งลอการิทึม ( semi - logarithm graph ) คือ กราฟบนระนาบ ซึ่งมีมาตราส่วนบนแกน นอนเป็นมาตราส่วนธรรมดา ซึ่งเรียกว่ามาตราส่วน เลขคณิต ( arithmetic scale ) ส่วนบนแกนตั้งเป็น มาตราส่วน
ลอการิทึม ( logarithm scale ) ซึ่งกำหนดว่าระยะทางบนแกนตั้ง จะเท่ากันเมื่อแทนด้วย อัตราส่วนที่เท่ากัน การนำเสนอข้อมูลนี้ เหมาะสำหรับข้อมูลที่มีค่าแตกต่างกันมาก ๆ

ที่มาของข้อมูล https://www.googlemath.ob.tc/home/page1-5.html
คำถามในห้องเรียน
1. จากผู้สมัคร PAT รอบพิเศษเพิ่มเติม มีดังนี้
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ จำนวน 6,337 คน  
PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 6,567  คน
PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน  1,701 คน 
PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์  จำนวน 576 คน 
PAT 5 ความถนัดทางวิชาชีพครู จำนวน 4,091 คน 
PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์จำนวน 736  คน  
PAT 7.1 ภาษาฝรั่งเศส จำนวน 230  คน 
PAT 7.2 เยอรมัน  จำนวน 105  คน 
PAT 7.3 ญี่ปุ่น จำนวน 148  คน 
PAT 7.4 จีน จำนวน 248  คน 
PAT 7.5 อาหรับ จำนวน 27 คน 
PAT 7.6 บาลี จำนวน  44  คน  
ให้นักเรียนนำเสนอข้อมูล และเหตุใดจึงเลือกการนำเสนอในรูปแบบนี้
2. มีผู้สมัครและชำระเงินจำนวน 12,254  คน แบ่งเป็นผู้สมัครสอบ GAT จำนวน  10,616 คน ดังนั้นผู้สมัครสอบ PAT คิดเป็นร้อยละเท่าไร แล้วนักเรียนสามารถเปรียบเทียบข้อมูลด้วยวิธีใดอภิปราย

ที่มาของข้อมูล https://www.googlemath.ob.tc/home/page1-5.html

ข้อเสนอแนะ
1. การสอบครั้งนี้ไม่ได้ให้นักเรียน ม.5 มาสมัครสอบ มีการประชาสัมพันธ์มากน้อยเพียงใด เข้าถึงตัวนักเรียนหรือไม่ 
2. ผู้สมัครใหม่ดูข้อมูลเลขที่นั่งสอบ สถานที่สอบและพิมพ์บัตรประจำตัวผู้เข้าสอบในวันที่ 27 ธ.ค.นี้ จากนั้นจะสอบในวันที่ 5-8 มี.ค.2554 และประกาศผลวันที่ 10 เม.ย.2554 ช่องทางในการดูข้อมูลต่างๆ นั้น 
รองรับกำจำนวนนักเรียนหรือไม่

การบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่นๆ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน

มาตรฐาน  ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน     
สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ    ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ที่มาของภาพ https://it.thanyarat.ac.th/stat/image1/ch2p4.jpg
ที่มาของภาพ https://301math.exteen.com/images/theme/imgdata/04.jpg
ที่มาของภาพ https://1.bp.blogspot.com/_YSGaCCRELeQ/S2fDaj-BgMI/AAAAAAAAAGY/y2owo0eGPVw/s400/05.jpที่มาของภาพ https://image.dek-d.com/21/1171764/101957503

ยอดนักเรียนสมัครสอบ GAT-PAT รอบพิเศษเพิ่มเติม


 

 
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3393

อัพเดทล่าสุด