https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
นับหนึ่งอีกครั้ง MUSLIMTHAIPOST

 

นับหนึ่งอีกครั้ง


546 ผู้ชม


ยุบสภา คืนอำนาจให้ประชาชน   

ยุบสภาคืนอำนาจให้กับประชาชน  พรรคการเมืองต่างๆก็ต้องจัดตัวผู้สมัครอยู่ว่าจะส่งมากน้อยแค่ไหน  คู่แข่งการเมืองที่สำคัญคือ  ประชาธิปัตย์ - เพื่อไทย  
และที่จะมีปัญหาคือการจัดตั้งรัฐบาล  หากเสียงไม่ขาดจริงๆ  การเลือกนายกรัฐมนตรีคงจะยุ่งแน่  เพราะจะต้องยึดสูตรของตัวเอง  อย่างไรก็ดีที่ลุ้นกันมากที่สุดคือคู่ชิงนายกรัฐมนตรี
กับอภิสิทธิ  เวชชาชีวะ  เนื่องจากเพื่อไทยยังไม่ระบุว่าเป็นใคร  
ที่มา :  หนังสือพิมพ์ไทยรัฐออนไลน์  วันที่  9  พฤษภาคม  2554  www.thairath.co.th/today/view/169630

นับหนึ่งอีกครั้ง


ที่มาภาพ : ภาพประชาธิปไตย : https://www.rd1677.com/backoffice/PicUpdate/53687.jpg
 
 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา  ศาสนา  และวัฒนธรรม  สาระที่  2  หน้าที่พลเมือง  วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม 

มาตรฐาน  ส.2.2  เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน  ยึดมั่น  ศรัทธา  และธำรงรักษาไว้
ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตย  อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข   ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่  3  ช่วงชั้นที่  1

 การปกครองในระบอบประชาธิปไตย เป็นการปกครองที่อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนโดยประชาชน เพื่อประชาชน  ประชาชนจะต้องปกครองกันเอง ออกกฎหมายเอง บริหารเอง
 แต่ประชาชนมีจำนวน มากไม่สามารถหาสถานที่และเวลา ในการประชุมหารือกันได้ จึงต้องมีการเลือกตั้ง คณะบุคคลไป ทำหน้าที่แทนตน   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยปี พ.ศ.2540 กำหนดให้การเลือกตั้ง
เป็นหน้าที่ของคนไทย ทุกคนที่เรา ต้องใช้สิทธิลงคะแนน ในการ เลือกผู้แทนเข้าไปทำหน้าที่ปกครองผลประโยชน์และดูแลทุกข์สุขของประชาชนคนไทยทุกคนที่มีอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคม ของปีที่มีการเลือกตั้ง
 และมีชื่ออยู่ใน ทะเบียนบ้านมาแล้วมากกว่า 90 วัน  เป็น ผู้สิทธิเลือกตั้ง ยกเว้นพระภิกษุ สามเณร นักพรต นักบวช แม่ชี คนวิกลจริต จิตฟั่นเฟือน ผู้ที่อยู่ในระหว่างจำคุก และผู้ที่อยู่ในระหว่าง ถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 
ก่อนไปลงคะแนนให้เตรียมหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อใช้ในการลงคะแนนเลือกตั้ง ดังนี้
    - บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัว ประชาชนที่หมดอายุ 
    - ใบรับคำขอมีบัตรหรือเปลี่ยนบัตรใหม่ที่ติดรูปถ่าย และประทับตราเจ้าหน้าที่ (ใบเหลือง) 
    - ใบแทนใบรับคำขอมีบัตรที่ติดรูปถ่าย และประทับตราเจ้าหน้าที่ (ในสีชมพู) 
    - บัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือบัตรประจำตัว เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้รับบำเหน็จบำนาญ 
    - หนังสือเดินทางที่ออกโดยกระทรวงการต่างประเทศที่มีหมายเลขประจำประชาชน และรูปถ่าย (กรณีการลงคะแนนในต่างประเทศ) 
ที่มา : http : guru.sanook.com/pedia
นับหนึ่งอีกครั้ง

ที่มาภาพ :ภาพการรับบัตรเลือกตั้ง  :https://learn.chanpradit.ac.th/kosum/54545454545454.jpeg

นับหนึ่งอีกครั้ง

ที่มาภาพ :ภาพเตือนไปเลือกตั้ง  : https://www.oja.go.th/NCJADhome/news/PublishingImages/02.gif
 
 ทำไมต้องมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
 ผู้แทนราษฎรทำหน้าที่อะไร
 ใครมีสิทธิ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
 
 นอกจากการเรียนรู้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแล้วครูสามารถให้นักเรียนรวบรวมกิจกรรมการเลือกตั้งทุกประเภทในท้องถิ่น/ โรงเรียน  ว่ามีการเลือกตั้งอะไรบ้าง

  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษการหาคำศัพท์เกี่ยวกับการเลือกตั้ง
 

 
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3711

อัพเดทล่าสุด