https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
เดอ โบโน. เอ็ดเวิร์ด.กับคุณค่าของเหรียญหกเหรียญ MUSLIMTHAIPOST

 

เดอ โบโน. เอ็ดเวิร์ด.กับคุณค่าของเหรียญหกเหรียญ


587 ผู้ชม


การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ต้องมีการคำนึงถึงคุณค่า เดอ โบโน. เอ็ดเวิร์ด. ได้เปรียบเทียบคุณค่ากับของเหรียญหกเหรียญ   
กรอบความคิดการตัดสินใจ เดอ โบโน. เอ็ดเวิร์ด.(2554:19-) ได้กล่าวถึง ความคิดและการกระทำต่าง ๆ ที่ต้องมีการตัดสินใจต้องมีเรื่องคุณค่าเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้นก่อนการตัดสินใจต่าง ๆ ต้องมีการประเมินคุณค่าต่าง ๆ เดอ โบโน. เอ็ดเวิร์ด.ได้เปรียบเทียบคุณค่ากับเหรียญหกเหรียญ ดังนี้ 1. เหรียญทองคำ เหรียญชนิดนี้ว่าด้วยคุณค่าที่เกี่ยวกับมนุษย์ ซึ่งถือว่าเป็นคุณค่าที่สำคัญที่สุด ในบรรดาคุณค่าทั้งหมด ซึ่งกล่าวได้ว่า กิจกรรมหรือโครงการนี้มีผลกระทบต่อผู้คนอย่างไร 2. เหรียญเงิน เหรียญชนิดนี้เน้นคุณค่าต่อองค์กร หมายถึงคุณค่าซึ่งเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กร เช่น การควบคุมต้นทุน คุณค่าต่อครอบครัว กลุ่มเพื่อน หรือกลุ่มสังคม 3. เหรียญโลหะ เหรียญชนิดนี้มีคุณค่าในเชิงคุณภาพ ความแข็งแกร่ง ผลิตภัณฑ์หรือบริการนั้นมีคุณภาพ 4. เหรียญแก้ว เหรียญชนิดนี้เป็นวัสดุที่เรียบง่ายแก้วทำมาจากทราย หากมีความคิดสร้างสรรค์ก็สามารถบันดาลเปลี่ยนแก้วเป็นสิ่งของสวยงามได้มากมายสารพัด ครอบคลุมคุณค่าหลายอย่าง ได้แก่ การสร้างนวัตกรรม ความเรียบง่าย และความสามารถในทางสร้างสรรค์ 5. เหรียญไม้ มีความหมายกว้างถึงคุณค่าในเชิงสิ่งแวดล้อม ที่กระทบต่อชุมชน ต่อคนอื่น ๆคุณค่ายังเชื่อมโยงไปสู่คนอื่น สิ่งอื่น ๆ 6. เหรียญทองเหลือง เป็นเหรียญที่สื่อในแง่ของการรับรู้ ได้แก่ เรื่องนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร เรื่องนี้จะมองได้อย่างไร การรับรู้นั้นมีอยู่จริง ที่มา เดอ โบโน. เอ็ดเวิร์ด. (2554). 6 กรอบความคิดเพื่อการตัดสินใจ. แปลมาจาก The Six Value Medals. กรุงเทพมหานคร: เนชั่นบุ๊คส์. https://www.9digits.com/index.php?option=com_content&view=article&id=124:-q-q&catid=74:general-news&Itemid=35 
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=4690

อัพเดทล่าสุด