https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
การเล่น...เทนนิส..ให้มีสุขภาพที่ดี MUSLIMTHAIPOST

 

การเล่น...เทนนิส..ให้มีสุขภาพที่ดี


544 ผู้ชม


กีฬาเทนนิส..เป็นกีฬาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเล่นกันมาก..ในประเทศและต่างประเทศ สามารถเป็นอาชีพหนึ่ง..ที่มีรายได้ดี  


ภาพจาก..apacnews.net

กลุ่มสาระการเรียนรู้                    สุขศึกษาและพลศึกษา ช่วงชั้นที่ 4 ( ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6)
                         สาระที่ 3 :  การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย  เกม  กีฬาไทย และกีฬาสากล
                         มาตรฐาน พ 3.1:  เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา
                         มาตรฐาน พ 3.2: รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา  ปฏิบัติเป็นประจำ 
                                                 อย่างสม่ำเสมอ  มีวินัย  เคารพสิทธิ กฎ กติกา  มีน้ำใจนักกีฬา  มีจิตวิญญาณ
                                                 ในการแข่งขัน  และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหว้ง
      1.สามารถอธิบายและปฏิบัติทักษะการเทนนิส
      2.สามารถตระหนักและปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวกีฬาเทนนิส

เนื้อหาสาระ

การเล่นเทนนิส

        สนาม tennis มีความกว้าง 36 ฟุต ยาว 78 ฟุต เนตสูง 3 ฟุต พื้นสนามอาจจะทำจากคอนกรีต ยางมะตอย พื้นดินหรือหญ้า การเล่นอาจจะเล่นแบบแข่งขันทั้งชนิดเดี่ยวและคู่ หรืออาจจะเล่นเพื่ออกกำลังกายในครอบครัว สามารถเล่นได้ตั้งแต่เด็กจนสูงอายุ เล่นทั้งกลางแจ้งและในร่ม

ใช้พลังงานมากแค่ไหน

        หากเป็นนักกีฬาจะใช้พลังงาน 500-700 กิโลแคลอรีต่อชั่วโมง แต่หากไม่ใช่นักกีฬาจะใช้พลังงาน 350-500 กิโลแคลอรีต่อชั่วโมง

ข้อดีของการเล่น tennis

  • ทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรงโดยเฉพาะกล้ามเนื้อแขนและขา
  • การเคลื่อนไหวของข้อดีขึ้น
  • สามารถเล่นได้ตลอดปีหากมีสนามก๊ฬาในร่ม
  • สามารถเล่นในครอบครัว

ข้อเสียของการเล่น

  1. เป็นการออกกำลังแบบ aerobic ที่ไม่ดีนัก
  2. ใช้เวลาฝึกนาน
  3. ได้รับบาดเจ็บจากการเล่น tennis เช่น ตา คอ หลัง ข้อเท้า ข้อเข่า ข้อมือ นิ้ว หากขณะเล่นรู้สึกปวดนั้นแสดงว่าข้อนั้นได้รับบาดเจ็บท่านต้องหยุดเล่นและประคบเย็น
  4. tennis elbow เป็นการได้รับบาดเจ็บที่ข้อศอกจารเล่นtennis วิธีป้องกัน
  • ฝึกกล้ามเนื้อบริเวณข้อมือให้แข็งแรง
  • เมื่อเวลาแบคแฮนด์อย่าใช้นิ้วหัวแม่มือดันด้าม ให้เหวี่ยงแบคแฮนด์จากไหล่
  • ระหว่างตีโฟแฮนด์ให้งอข้อศอกเล็กน้อยเพื่อให้ไหล่และกล้ามเนื้อไบเซ็บเป็นตัวเหวี่ยง
  • เวลาเสริฟ์ให้งอข้อศอกเล็กน้อย
  • อย่า topspin แรงเกินไป
  1. การป้องกันการได้รับบาดเจ็บจากเล่น tennis
  • ให้ฝึกกับผู้สอนมืออาชีพ
  • ก่อนการเล่นให้อุ่นร่างกายโดยการวิ่งหรือตีบอล
  • ยืดกล้ามเนื้อก่อนเล่น 5-10 นาที
  • ให้วิ่ง หรือว่าน้ำหรือขี่จักรยานสัปดาห์ละ 4 วัน
  • ทำความสะอาดสนามอย่าให้มีตะไคร่ ใบไม้<
  • เลือกไม้ที่มีขนาดเหมาะกับมือ
  • เลือกรองเท้าสำหรับการเล่น tennis

คำแนะนำสำหรับการเล่น tennis

  • ดื่มน้ำให้เพียงพอทั้งก่อนการเล่น หรือขณะเล่นและหลังการเล่น tennis<
  • ไม่ควรเล่นบนพื้นที่แข็งเช่น พื้น cement หรือ asphalt ควรเล่นบนพื้นที่นุ่มเช่นพื้นดินจะทำให้ปวดเข่าน้อยกว่า หากต้องเล่นบนพื้นแข็งต้องใส่ถุงเท้าที่หนาหรือมีแผ่นรองส้นเท้า
  • ป้องกันมือพองโดยการใช้แป้งโรยด้ามจับ
  • อย่าเดินข้ามสนามแข่งขันเพราะท่านอาจจะถูกลูกบอลโดยไม่รู้ตัว
  • หากขณะเล่นมีอาการปวดข้อเท้า ท่านต้องหยุดเล่นและประคบเย็นทันที ถ้าบวมก็ให้พันผ้าไว้ 48 ชั่วโมงจนยุบบวม
ประเด็นคำถาม
        1. การสร้างเสริมสุขภาพทางกายมีผลดีอย่างไร
        2. นักเรียนคิดว่าการออกกำลังกายด้วยเล่นเทนนิสให้ประโยชน์ต่อร่างกายคนเราอย่างไร
        3. นักเรียนบอกได้ไหมว่าการออกกำลังกายแบบธรรมดากับเล่นกีฬาอย่างไหนถึงจะดี..
       
กิจกรรมเสนอแนะ  
        1. ให้นักเรียนไปศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมในห้องสมุดโรงเรียนหรืออินเตอร์เน็ต
        2. จัดนิทรรศการ หรือจัดบอร์ดเกี่ยวกับ การออกำลังกายด้วยกีฬาเทนนิส
         
การบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่นๆ
        1. ภาษาไทย     การอ่านจับใจความ  การสรุปบทความในข่าว
        2. วิทยาศาสตร์  ระบบการไหลเวียนโลหิตและการเต้นของหัวใจ
        3. คณิตศาสตร์   การคำนวณเวลาในการออกกำลังกาย
        4. สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา)  อาหารและโภชนาการสนองต่อการอออกำลังกาย
แหล่งข้อมูลที่มา : www.siamhealth.net
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1909

อัพเดทล่าสุด