https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
พ่อแม่ควรรู้อะไรบ้างเมื่อเจอหมอเด็ก MUSLIMTHAIPOST

 

พ่อแม่ควรรู้อะไรบ้างเมื่อเจอหมอเด็ก


1,520 ผู้ชม


พ่อแม่ควรรู้อะไรบ้างเมื่อเจอหมอเด็ก

ภาพประกอบ: healthcommunities.com

เวลาพาลูกไปตรวจสุขภาพ บางครั้งคุณพ่อคุณแม่มีอะไรอยากรู้แต่ไม่กล้าถาม เพราะตื่นเต้นบ้าง ลืมไปบ้าง ทั้งที่หลายๆ เรื่องเป็นเรื่องซีเรียสที่ควรได้รับคำแนะนำจากหมอ
มาดูกันดีกว่าค่ะ ว่าไปเจอหมอของลูกครั้งหน้า มีอะไรบ้างที่ไม่ควรหลงลืมไป และเป็นสิ่งที่ลูกควรได้รับการตรวจ
1. สัดส่วนความสูงและน้ำหนักเพื่อวัดการเจริญเติบโต
เป็นหัวข้อพื้นฐานที่สุด หากไปหาหมอแล้วไม่ได้วัดส่วนสูงหรือชั่งน้ำหนัก ก็คงต้องเปลียนคลินิคโดยด่วนเลยค่ะ เพราะนี่คือข้อมูลพื้นฐานที่จะดูว่าลูกเจริญเติบโตตามเกณฑ์หรือไม่
2. วัดไข้
ทุกโรงพยาบาลจะทำการวัดไข้เด็ก แม้ไม่ได้มีข้อมูลว่าเด็กไม่สบายหรือไม่ก็ตาม เพราะการปล่อยให้เด็กเป็นไข้ในขณะที่อยู่กับหมอ แต่หมอไม่ทราบ คงถือเป็นเรื่องแย่สุดๆ ปกติพยาบาลจะวัดไข้ทุกครั้งเมื่อเข้าตรวจ
3. ตรวจสอบ ตา, หู, ปอด
ตา หู ปอด เป็นอวัยวะสำคัญในการบ่งบอกสุขภาพพื้นฐานเด็ก เช่นเด็กตาแดง อาจเกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย หรือตาซีดเหลือง บอกถึงโรคที่ต้องตรวจอย่างละเอียด, ากรตรวจหู ว่ามีขี้หูสะสมหรือไม่ และปอดทำงานดีหรือไม่ หายใจครืดคราดหรือไม่ เป็นต้น
4. สังเกตพฤติกรรมเด็ก
บางครั้งพ่อแม่อาจเห็นว่าลูกซึมไป แล้วคิดว่างอแง หรือดื้อ แต่หมอจะทราบว่าอาการซึมที่เกิดจากการเจ็บป่วยนั้นต่างอย่างไร หากลูกมีอาการซึม ไม่ทานข้าว อย่าลืมให้หมอดูว่าเกิดอะไรอะไรได้บ้าง ถ้าไม่ดีขึ้นก็ไม่ควรปล่อยไว้
5. ฉีดวัคซีน
แต่ละครั้งที่หมอนัดตรวจสุขภาพ มักนัดฉีดวัคซีนไปด้วย อย่าลืมให้ลูกรับวัคซีนให้ครบตามช่วงวัย
6. ประเมินพัฒนาการ
หมอจะทำการสื่อสารว่าลูกมีพฤติกรรมอะไรบ้าง การเคลื่อนไหว อารมณ์ การเรียนรู้ และสมอง ซึง่หากมีอะไรผิดปกติก็จะสามารถแก้ไขได้ทัน อย่าลืมถามคุณหมอถึงการประเมินพัฒนาการเหล่านี้ด้วย
7. ถามคุณหมอในสิ่งที่ต้องการถาม 
เพราะคุณหมอคือผู้เชี่ยวชาญ ผุ้ให้คำตอบได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และมีคำแนะนำที่เป็นประโยชน์และปลอดภัยกว่าการคาดเดาเอาเอง

มี่มา: มัมมี่พิเดีย

อัพเดทล่าสุด