https://cdc.iainponorogo.ac.id/wp-content/gampang-menang/https://cdc.iainponorogo.ac.id/-/demo/https://kebonagung.pacitankab.go.id/-/gampang-menang/
ที่ไม่แน่คือค่าพาย MUSLIMTHAIPOST

 

ที่ไม่แน่คือค่าพาย


515 ผู้ชม


Pi เป็นจำนวนจริงที่มีค่าเท่ากับอัตราส่วนของเส้นรอบวงของวงกลมกับเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม โจนส์ (William Jones) เป็นบุคคลแรกที่นำเอาอักษรกรีก Pi มาใช้ โดยให้มีค่าเท่ากับ อัตราส่วนดังกล่าว ซึ่งท่านนำมาใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1706 ในหนังสือ A New Introduction to t   
ที่ไม่แน่คือค่าพาย     ค่าพาย

     Pi เป็นจำนวนจริงที่มีค่าเท่ากับอัตราส่วนของเส้นรอบวงของวงกลมกับเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม โจนส์ (William Jones) เป็นบุคคลแรกที่นำเอาอักษรกรีก Pi มาใช้ โดยให้มีค่าเท่ากับ อัตราส่วนดังกล่าว ซึ่งท่านนำมาใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1706 ในหนังสือ A New Introduction to the Mathematics แต่ยังไม่เผยแพร่จนกระทั่ง ออยเลอย์ (Leonhard Euler) ได้นำเอาการกำหนดค่าของ Pi ดังกล่าวมาใช้ในงานของท่านมากมาย จนกระทั่งเป็นที่ยอมรับและใช้กันมาจนถึงทุกวันนี้

เนื้อหาสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์   ทุกระดับชั้น

เนื้อเรื่อง

                       ตั้งแต่สมัยบาบิโลเนียประมาณ 950 ก่อนคริสตกาล นักคณิตศาสตร์สมัยนั้นให้ความสำคัญและสนใจค่าของ  ที่ไม่แน่คือค่าพาย   ซึ่งค่าของ ที่ไม่แน่คือค่าพาย   นิยามจากอัตราส่วนระหว่างเส้นรอบวงต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม 

ที่ไม่แน่คือค่าพาย
   ที่ไม่แน่คือค่าพายhttps://th.wikipedia.org/wiki/
    ในยุคสมัยแรกใช้ค่า ที่ไม่แน่คือค่าพาย   ประมาณเท่ากับ  3   ชาวอียิปต์ใช้ค่า   ที่ไม่แน่คือค่าพาย   มีค่าเท่ากับ             ที่ไม่แน่คือค่าพาย      และใช้ค่า      ที่ไม่แน่คือค่าพาย   จากการค้นพบแผ่น Papyrus  ที่บันทึกวิชาคณิตศาสตร์สมัยอียิปต์ เมื่อราว             1650     ก่อนคริสตกาล กำหนดค่า  ที่ไม่แน่คือค่าพาย  ไว้เท่ากับ 4(8/9)2  =  3.16

 อาร์คีมีดีส       ให้ค่า  ที่ไม่แน่คือค่าพาย    มีค่าโดยประมาณ     223/71  < ที่ไม่แน่คือค่าพาย <  22/7

ค่าของ  ที่ไม่แน่คือค่าพาย  จึงเข้ามาเกี่ยวข้องกับวิวัฒนาการความเจริญของมนุษย์โดยค่าที่ใช้ในยุค  ต่าง ๆ มีดังนี้  
ชื่อนักคณิตศาสตร์ปี ค.ศ.ค่าที่ได้
พโธเลมี (Ptolemy)
c.150 AD
3.1416
ซู ซุง (Tsu Chung)
430 - 501 AD
55/113
Al Khwarizmi
คศ.800
3.1416
Al Kashi
คศ.1430
คำนวณได้ 14 ตำแหน่ง
Vite
1540 - 1603
คำนวณได้ 9 ตำแหน่ง
Roomen
1516 - 1615
คำนวณได้ 17 ตำแหน่ง
Van Ceulen
1600 
คำนวณได้ 35 ตำแหน่ง
การคำนวณค่าของ  ที่ไม่แน่คือค่าพาย  มีส่วนเกี่ยวข้องกับวิชาเรขาคณิตและการคำนวณทางตรีโกณมิติอย่างมากเพราะเกี่ยวข้องกับเรื่องของมุม

ประเด็นคำถาม

            1.  ที่ไม่แน่คือค่าพาย    (พาย)  มีค่าเท่าไร

            2.  ที่ไม่แน่คือค่าพาย    (พาย)  เป็นจำนวนอะไร

            3.  เราใช้ค่า   ที่ไม่แน่คือค่าพาย  (พาย)  ในการคำนวณเรื่องอะไรบ้าง

กิจกรรมเสนอแนะ

            จงค้นหาสูตรที่เกี่ยวข้องกับการใช้ค่า ที่ไม่แน่คือค่าพาย  (พาย)   

การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ

            กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

พาย หรือ ไพ (pi - สัญลักษณ์ π) เป็นค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ ที่เกิดจากความยาวเส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม ค่า π มักใช้ในคณิตศาสตร์ฟิสิกส์และวิศวกรรม π เป็นอักษรกรีกที่ตรงกับตัว "p" ในอักษรละติน มีชื่อว่า "pi" (อ่านว่า พายในภาษาอังกฤษ แต่อ่านว่า พี ในภาษากรีก) บางครั้งเรียกว่า ค่าคงตัวของ      อาร์คิมิดีสหรือจำนวนของลูดอฟ

ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่  <<https://th.wikipedia.org/wiki/


ที่มา : รศ. ยืน ภู่วรวรรณ, สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

             https://www.bwk.ac.th/media/digital_library/snet2/knowledge_math/math_val.htm

https://th.wikipedia.org/wiki/

โดย  อุทัยวรรณ  พงศ์อร่าม  โรงเรียนศรียาภัย  สพท.ชุมพร เขต 1

 
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=100

อัพเดทล่าสุด