การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ? MUSLIMTHAIPOST

 

การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ?


806 ผู้ชม


การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ?
การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ?
การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ? หมวดหมู่ : คณิตศาสตร์
การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ?
เสาร์ ที่ 19 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554

[อ่านสาระการเรียนรู้ทั้งหมด]  

การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ?
 
ผู้ชายจ้องมองด้วยสายตาแสดงความสนใจอย่างเปิดเผยให้พวกเธอรู้ตัว พบว่าผู้หญิงจะทำแบบทดสอบทางคณิตศาสตร์แย่ลงอย่างเห็นได้ชัด   

‘ถูกมอง’ ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ 

การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ?เชื่อหรือไม่ว่าเมื่อผู้หญิงถูกเพ่งมอง จะทำให้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ของพวกเธอลดลง
          นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยในเนบราสก้า สหรัฐอเมริกา ศึกษาผู้หญิง 150 คน โดยให้พวกเธอทำแบบทดสอบทางคณิตศาสตร์ แล้วมีผู้ชายจ้องมองด้วยสายตาแสดงความสนใจอย่างเปิดเผยให้พวก
เธอรู้ตัว พบว่าผู้หญิงจะทำแบบทดสอบทางคณิตศาสตร์แย่ลงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งอาจเป็นเพราะผู้หญิงจะไม่มีสมาธิในการทำข้อสอบ เนื่องจากสนใจแต่สายตาที่มองมานั่นเอง
          อย่างไรก็ตามผลการศึกษานี้ตรงกันข้ามในเพศชาย เพราะไม่ว่าจะถูกมองหรือถูกจ้องขณะทำแบบทดสอบคณิตศาสตร์ พวกเขาก็ไม่เกิดอาการใดๆ
ที่มาของข้อมูล https://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=424&contentId=121967

คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)  
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)

การสุ่มตัวอย่าง คือ กระบวนการในการเลือกสมาชิกที่มีประสิทธิภาพจาก Element ของประชากรทั้งหมด ดังนั้น ในการศึกษากลุ่มตัวอย่างการทำความเข้าใจถึงระเบียบแบบแผนหรือคุณสมบัติของ 
เชื่อหรือไม่ว่าเมื่อผู้หญิงถูกเพ่งมอง จะทำให้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ของพวกเธอลดลง
          นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยในเนบราสก้า สหรัฐอเมริกา ศึกษาผู้หญิง 150 คน โดยให้พวกเธอทำแบบทดสอบทางคณิตศาสตร์ แล้วมีผู้ชายจ้องมองด้วยสายตาแสดงความสนใจอย่างเปิดเผยให้พวกSubject  มีความเป็นไปได้ที่จะนำเอาระเบียบแบบแผนหรือคุณสมบัตินั้นไปประมาณว่าเป็นคุณสมบัติของ Element ของประชากรได้ คุณสมบัติของประชากร
ที่มาของข้อมูล  www.santi.aru.ac.th/text%20research/.../chapter%2011%20sampling.doc

เหตุผลสำหรับการสุ่มตัวอย่าง (Reasons for Sampling)
การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ?เหตุผลที่ใช้ในการสุ่มตัวอย่างแทนที่จะใช้วิธีเก็บข้อมูลจากประชากรทั้งหมด เป็นเหตุผลที่เห็นได้อย่างชัดเจน ในการทำวิจัยค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับหน่วยประชากรนับร้อยหรือแม้กระทั่งพัน ๆ คน เป็น
เรื่องที่เป็นไปไม่ได้ที่จะเก็บข้อมูลหรือทำการทดสอบสมาชิกทั้งหมดของประชากรได้ แม้ว่าจะเป็นไปได้ ก็อาจมีข้อจำกัดในเรื่องของเวลา ค่าใช้จ่ายและบุคลากรการศึกษากลุ่มตัวอย่างบางครั้งสามารถนำไปสู่ผลที่น่าเชื่อถือ   เพราะลดความเหนื่อยล้า ทำให้เกิดความผิดพลาดในการเก็บข้อมูลน้อยลง โดยเฉพาะเมื่อ Element มีจำนวนมาก ในหลายกรณีเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ที่ประชากรทั้งหมดจะมีความเข้าใจในเรื่องที่ศึกษาหรือทดสอบ ตัวอย่างเช่น ในการศึกษาเรื่องของหลอดไฟ เพื่อทดสอบถึงอายุการใช้งานของหลอดไฟ หากเราต้องการทดสอบเปิดหลอดไฟทุกดวงที่ผลิตขึ้นจนกว่าจะขาด คงไม่มีหลอดไฟไว้เพื่อขาย   วิธีนี้เรียกว่า Destructive Sampling
การสุ่มตัวอย่าง เป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการสุ่มหน่วยตัวอย่างมาจากประชากรที่สนใจศึกษา ถ้าเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ จะเป็นการสุ่มบุคคลเพื่อตอบแบบสอบถาม ถ้าเป็นการวิจัยเอกสาร จะเป็นการสุ่ม
เอกสารหรือเนื้อหามาวิเคราะห์ Random Selection กับ Random Assignment

Random Selection เป็นการสุ่มตัวอย่างจากประชากร ส่วน Random Assignment เป็นการนำกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มได้มาสุ่มเข้ากลุ่มที่แตกต่างกัน เช่น สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เป็นไปได้ที่ในการวิจัยเรื่องหนึ่งอาจจะมีการสุ่มทั้ง 2 ประเภท ก็คือ สุ่มกลุ่มตัวอย่าง 100 คน จากประชากรทั้งหมด 1,000 คน (Random Selection) แล้วนำกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มได้ 100 คน มาสุ่มเพื่อจำแนกออกเป็นกลุ่มควบคุม 50 คน และกลุ่มทดลอง 50 คน (Random Assignment) เป็นไปได้ที่ในการวิจัยเรื่องหนึ่งอาจจะใช้การสุ่มประเภทใดประเภทหนึ่ง เช่น อาจจะไม่สุ่ม 100 คนจาก 1,000 แต่อาจจะใช้รายชื่อประชากรทั้ง 1,000 คน แล้วเลือกเอาเฉพาะ 100 คนแรก แล้วจึงค่อยใช้การสุ่มจำแนกออกเป็นกลุ่มควบคุม 50 และกลุ่มทดลอง 50 คน และเป็นไปได้ที่ในการวิจัยเรื่องหนึ่งอาจจะไม่มีการสุ่มทั้ง 2 ประเภท ก็คือ เจาะจงทดลองกับเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดหนามแดง มีอยู่ 4 ห้อง เลือกมา 2 ห้องเป็นกลุ่มทดลองโดยใช้หลักสูตรใหม่ ส่วนอีก 2 ห้องที่เหลือใช้หลักสูตรเก่าเป็นกลุ่มควบคุม ในเอกสารนี้จะนำเสนอเกี่ยวกับ Random Selection แบบต่าง ๆ เพราะมีความสำคัญที่จะช่วยให้งานวิจัยมีความเที่ยงตรงภายนอก (Externel Validity) (สรุปอ้างอิงผลการวิจัยไปยังประชากรได้) ส่วน Ramdon Assignment มีความสำคัญในการออกแบบการวิจัยเชิงทดลอง เพราะจะช่วยให้เกิดความเที่ยงตรงภายใน (Internet Validity)

การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น (Probability Sampling) 
การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ?เป็นการสุ่มหน่วยตัวอย่างจากประชากร โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 
1. รู้จำนวนประชากรทั้งหมด 
2. ประชากรทั้งหมดมีโอกาสที่จะถูกสุ่มมาเป็นกลุ่มตัวอย่างเท่าเทียมกัน 
3. ใช้วิธีการสุ่มที่เหมาะสม เพื่อให้หน่วยตัวอย่างมีโอกาสถูกสุ่มเท่าเทียมกัน 
4. ใช้วิธีประมาณค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม 
การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็น เป็นวิธีที่นิยมใช้กันมาก เพราะมีความน่าเชื่อถือ การสุ่มแบบนี้มีหลายวิธี คือ 
การสุ่มอย่างง่าย (Sample Random Sampling) 
การสุ่มอย่างง่ายเป็นวิธีที่ประชากรแต่ละหน่วยมีโอกาสถูกสุ่มมาเป็นกลุ่มตัวอย่างเท่า ๆ กัน ประชากรจะต้องกำหนดเฉพาะลงไปว่าเป็นกลุ่มใด 
จุดเด่นของการสุ่มแบบนี้ก็คือมีความสะดวกและใช้ได้ง่าย แต่มีข้อเสียคือ ถ้ากลุ่มตัวอย่างที่ต้องการมีจำนวนมาก การใช้วิธีก็จะเสียเวลามาก เนื่องจากผู้วิจัยต้องรู้จักประชากรทุกคน คือต้องรู้ว่า ประชากรลำดับที่ 0117 เป็นใคร ยิ่งกว่านั้นผู้วิจัยบางคนจะไม่ใช้การสุ่มอย่างง่าย ถ้าแน่ใจว่ากลุ่มประชากรสามารถจำแนกออกเป็นกลุ่มย่อยที่มีสัดส่วนแน่นอน ผู้วิจัยอาจจะใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นแทน 
การสุ่มอย่างเป็นระบบ (Systematic Random Sampling) 
วิธีนี้เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการอ่านข้ามทีละ n คน โดยจะต้องสุ่มเลขเริ่มต้นให้ได้เสียก่อน ซึ่งวิธีนี้จะคล้ายกับการสุ่มอย่างง่าย 
การสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) 
เป็นวิธีที่ผู้วิจัยสามารถแบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ ได้แน่นอน เช่น ในการวิจัยกับเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตอำเภอหนึ่ง โดยจะศึกษาผลของการใช้หลักสูตรใหม่ ว่าจะช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ของนัก
เรียนดีขึ้นหรือไม่ และผู้วิจัยมีความเชื่อว่า เพศ เป็นตัวแปรสำคัญที่จะมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังนั้นจึงได้มีขั้นตอนการสุ่ม ดังนี้ 
1. ผู้วิจัยกำหนดประชากรเป้าหมาย : นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ในอำเภอหนึ่งของจังหวัดอยุธยา 
2. ผู้วิจัยพบว่า ในกลุ่มประชากรนี้มีเพศหญิง 219 คน (คิดเป็น 60% ของประชากรทั้งหมด) และเพศชาย 146 คน (คิดเป็น 40% ของประชากรทั้งหมด) และผู้วิจัยต้องการกลุ่มตัวอย่าง 30% จากประชากรทั้ง
หมด 
3. ใช้การสุ่มอย่างง่าย สุ่มกลุ่มตัวอย่าง 30% จากประชากรในแต่ละกลุ่มเพศ จะได้เพศหญิง 66 คน (30% ของ 219 คน) และเพศชาย 44 คน (30% ของ 146 คน) สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ได้จะมีขนาดเท่า
กับประชากรคือ เพศชาย 40% และเพศหญิง 60% 
การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster (Area) Random Sampling)การ ‘ถูกมอง’ ... ทำผู้หญิงคิดเลขแย่ลง ? เป็นวิธีที่ผู้วิจัยใช้ในการแบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มตามเขตพื้นที่ (area) ซึ่งในแต่ละเขตพื้นที่จะมีประชากรที่มีคุณลักษณะที่ต้องการกระจายกันอยู่อย่างเท่าเทียมกัน แล้วสุ่มกลุ่มมาจำนวนหนึ่งด้วยวิธีการสุ่มที่เหมาะสม
การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi - Stage Sampling) เป็นการุส่มหน่วยตัวอย่างที่บางครั้งอาจไม่ทราบจำนวนประชากรที่แท้จริง ทำให้ไม่สามารถใช้การสุ่มแบบอาศัยความน่าจะป็นได้ และการสุ่มแต่ละครั้งนั้น ทุก ๆ หน่วยของประชากรมีโอกาสถูกสุ่มมาเป็นกลุ่มตัวอย่างไม่เท่าเทียมกัน การสุ่มแบบนี้มีหลายวิธี คือ 
การเลือกตัวอย่างแบบสะดวกสบาย (Convenience หรือ Accidental Sampling)
 เป็นการเลือกแบบไม่มีกฎเกณฑ์ อาศัยความสะดวกของผู้วิจัยเป็นหลัก กลุ่มตัวอย่างจะเป็นใครก็ได้ที่ให้ความร่วมมือกับผู้วิจัยใน
การให้ข้อมูลบางอย่าง
การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive หรือ Judgmental Sampling) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่จะเป็นใครก็ได้ที่มีลักษณะตามความต้องการของผู้วิจัย โดยอาจจะกำหนดเป็นคุณลักษณะเฉพาะเจาะจงลงไป เช่น การเลือกตัวอย่างแบบโควต้า (Quota Sampling) เป็นการเลือกตัวอย่างโดยกำหนดคุณลักษณะและสัดส่วนที่ต้องการไว้ล่วงหน้า คุณลักษณะเช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ ระดับการศึกษา ฯลฯ  
การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่ (Snowball Sampling) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยการแนะนำของหน่วยตัวอย่างที่ได้เก็บข้อมูลไปแล้ว 
ที่มาของข้อมูล https://www.watpon.com/Elearning/res22.htm

คำถามในห้องเรียน
1. นักเรียนคิดว่า "เมื่อผู้หญิงถูกเพ่งมอง จะทำให้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ลดลง"  เพราะเหตุใด
2. จากการสุ่ม เพศชายทำแบบทดสอบคณิตศาสตร์ ไม่ทำให้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ลดลง นักเรียนคิดว่าจำนวนคนในการสุ่มมีผลต่อการทดลองหรือไม่

ข้อเสนอแนะ
สมาธิของเพศชายและเพศหญิงต่างกันอาจมีปัจจัยอื่นๆ เกี่ยวข้องอีกหรือไม่ก็ได้

การบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่นๆ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่  2 ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน  พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว  เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนินชีวิต

ที่มาของภาพ https://www.watpon.com/Elearning/image/res22_6.gif
ที่มาของภาพ https://t0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcR8hA3B0J2h-_OxdLSSHlskv8OSCNulTaPNtvjj_1z23ejE7AmU
ที่มาของภาพ https://www.yenta4.com/webboard/upload_images/1307850.jpg
ที่มาของภาพ https://www.nma6.obec.go.th/korat6/news_pic/p14513430004.jpg

 
ที่มา : https://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3513

อัพเดทล่าสุด