หน้าที่ท่อไต ท่อไตทําหน้าที่ ภาพและหน้าที่ของท่อไต ท่อไตตีบ MUSLIMTHAIPOST

 

หน้าที่ท่อไต ท่อไตทําหน้าที่ ภาพและหน้าที่ของท่อไต ท่อไตตีบ


2,162 ผู้ชม


หน้าที่ท่อไต ท่อไตทําหน้าที่ ภาพและหน้าที่ของท่อไต ท่อไตตีบ

 

 

ทำอย่างไรไตจึงจะไม่พิการ

ดังที่ทราบแล้วว่าโรคไตสามารถเกิดได้จากหลายสาเหตุด้วยกัน
ดังนั้น ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยจึงมีความแตกต่างกันไป ข้อควรปฏิบัติของผู้ป่วยโรคไต มีอยู่ด้วยกัน 4 กลุ่ม คือ
หน้าที่ท่อไต ท่อไตทําหน้าที่ ภาพและหน้าที่ของท่อไต ท่อไตตีบ
1. ข้อควรปฏิบัติสำหรับบุคคลทั่ว ๆ ไป เพื่อรักษาไต
- พบแพทย์เมื่อป่วยไข้, ตรวจสุขภาพเป็นครั้งคราว
- หลีกเลี่ยงยาจีน, ยาหม้อโดยเด็ดขาด
- ถ้ามีความดันโลหิตสูง ควรงดอาหารที่เค็ม ซึ่งได้แก่ อาหารที่มีเกลือโซเดียม เช่น น้ำปลา ฯลฯ
เพราะเกลือโซเดียม จะทำให้ความดันโลหิตสูงมากขึ้น และบวมมากขึ้น
- ถ้ามีการทำงานของไตผิดปกติ ควรลดอาหารประเภทเนื้อสัตว์ให้น้อยลง
เพราะเมื่อไตทำงานผิดปกติการกินเนื้อสัตว์นาน ๆ จะทำให้ไตเสื่อมเร็วกว่าที่ควรจะเป็น นอกจากนี้ยังทำให้เกิดพิษสะสมในร่างกายมากขึ้น เพราะยาเหล่านี้มีสารปรอท, สารหนู หรือสารเจือปนอื่น ๆ ที่เป็นพิษต่อไตและตับ
- หลีกเลี่ยงการซื้อยากินเอง เพราะยาส่วนใหญ่ขับออกจากร่างกายทางไต
นอกจากนี้ ยาบางชนิด เช่น ยาปฏิชีวนะ, ยาแก้อักเสบ, ยาแก้ปวด, ยาแก้ไข้, จะเป็นพิษต่อเนื้อไตได้ เมื่อไตอักเสบ ควรให้แพทย์เป็นผู้สั่งยาให้ผู้ป่วยนั้น
- ถ้าตั้งครรภ์ หรือเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล หรือพบแพทย์เพราะเจ็บป่วยด้วยโรคอื่น ๆ ควรแจ้งให้แพทย์ผู้เกี่ยวข้องทราบถึงโรคไตที่เป็นอยู่
เพื่อแพทย์จะได้ให้ความระมัดระวังการใช้ยาและการแทรกซ้อนของไต ที่อาจจะเกิดขึ้นจากโรคอื่นที่เป็นอยู่
- ถ้ามีความดันโลหิตสูงร่วมด้วย จะต้องคุมความดันโลหิตให้ได้
เพราะมีการยืนยันแล้วว่า ความดันโลหิตสูงจะทำลายไตที่ผิดปกติอยู่แล้วให้เสียเร็วขึ้น
2. ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วย เพื่อป้องกันไตพิการเบาหวาน
ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน โดยเฉพาะถ้าเป็นมาตั้งแต่อายุยังน้อย กว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยเหล่านี้หลังจากเป็นเบาหวานมาได้ประมาณ 15 ปีขึ้นไป จะเริ่มมีการเสื่อมของไตเกิดขึ้น 
เมื่อตรวจเลือด อาจจะยังไม่พบสิ่งผิดปกติที่แสดงให้เห็นว่าไตเริ่มเสื่อม ลงเมื่อตรวจปัสสาวะจะมีไข่ขาว
ผู้ป่วยยังไม่มีอาการแสดงให้เห็นว่า เป็นโรคแต่อย่างใด
แต่เมื่อมีไข่ขาวออกมาทางปัสสาวะมากขึ้นเรื่อย ๆ
- อิริโธรพอยติน (Erythropoietin) ทำหน้าที่กระตุ้นให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดง ผู้ป่วยโรคไตวายมักจะมีโลหิตจาง ทำให้ซีด เพราะขาดฮอร์โมนชนิดนี้ 
- เรนนิน (rennin) มีหน้าที่ในการควบคุมความดันโลหิตและควบคุมปริมาณของเกลือแร่โซเดียม และปริมาณของน้ำในกระแสโลหิต รวมทั้งควบคุมการยืดหดตัวของหลอดเลือดแดง ซึ่งมีผลทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของความดันโลหิต 
ผลทั้งหมดนี้ เกิดจากการที่ฮอร์โมนเรนนินกระตุ้นทำให้เกิดฮอร์โมนอีก 2 ชนิด คือ แองจิโอเทนซิน(Angiotensin) และ แอลด๊อซสะเตอโรน (Aldosterone) จากต่อมหมวดไต
กลุ่มฮอร์โมนพรอสตาแกลนดินส์ (Prostaglandins) -ซึ่งมีหลายชนิดด้วยกัน
แต่ละชนิดมีความสำคัญต่อการควบคุมความดันโลหิตในร่างกาย และกระแสโลหิตที่ผ่านไต บางชนิดมีความสำคัญในการควบคุม การดูดซึมเกลือแร่ต่าง ๆ ของไต
- ฮอร์โมนอื่น ๆ อีกหลายชนิด ซึ่งมีหน้าที่ในการควบคุมการทำงานของไต ตลอดจนควบคุมระบบการทำงานของอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกาย
- อิริโธรพอยติน (Erythropoietin) ทำหน้าที่กระตุ้นให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดง ผู้ป่วยโรคไตวายมักจะมีโลหิตจาง ทำให้ซีด เพราะขาดฮอร์โมนชนิดนี้
7. ไตมีความสำคัญเกี่ยวกับระบบการทำงานและโครงสร้างของกระดูก
ไต สร้าง วิตามิน D ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมความสมดุลของปริมาณและระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกายถ้าขาดวิตามิน D ก็จะขาดแคลเซียม ในที่สุดก็จะทำให้เกิดโรคกระดูกอ่อน, เนื้อกระดูกพรุน, และปวดกระดูก เป็นโรคแต่อย่างใดมีไข่ข่าวออกมาทางปัสสาวะมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามลำดับเป็นเวลาอีก 3-5 ปี
ผู้ป่วยจะมีอาการบวมมากบขึ้น และไตก็จะเสื่อมลง จนเป็นโรคไตวายเรื้อรัง 
ผู้ป่วยโรคไตอันเนื่องมาจากโรคเบาหวาน จะมีอาการผิดปกติทางด้านตา เช่น หลอดเลือดแตกในจอตา ทำให้ตามัว ตาบอด ร่วมกับมีความผิดปกติทางด้านเส้นประสาท คือ ปลายประสาทเสื่อม ทำให้ชาที่ปลายนิ้วมือนิ้วเท้า
ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานมานาน ๆ มักจะมีโรคแทรกซ้อน 4 โรค คือ โรคไต, โรคตา, ปลายประสาทเสื่อม และโรคหลอดเลือดตีบ-ตันที่เท้า
ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เริ่มมีไตเสื่อม มักจะมีความดันโลหิตสูง, หลอดเลือดที่เลี้ยงหัวใจตีบ-ตัน, กล้ามเนื้อหัวใจตาย, หัวใจล้มเหลว, หลอดเลือดตีบ-ตันในสมอง และเป็นอัมพาต
วิธีรักษาที่ได้ผลแน่นอนในปัจจุบัน คือ การป้องกัน และการควบคุมเบาหวาน
เราต้องรักษาน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในระดับใกล้เคียงกับปกติที่สุด โดยการคุมด้วยอาหาร, การลดน้ำหนักให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับรูปร่างและอายุ การออกกำลังกายสม่ำเสมอ, การให้ยาเม็ดกินลดน้ำตาลในเลือด, หรือการให้ยาฉีดอินซูลิน
ในอนาคตอันใกล้นี้ อาจจะมีวิวัฒนาการทางการแพทย์ ที่ดีกว่าปัจจุบัน ในการควบคุม และรักษาโรคเบาหวาน เช่น การใช้อินซูลินปั๊ม, การผ่าตัดเปลี่ยนตับอ่อน ซึ่งมีหน้าที่สร้างอินซูลิน เป็นต้น
3. ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันไตพิการ
ที่คนทั่วไปยังไม่เข้าใจบทบาทอันสำคัญของไตที่เกี่ยวข้องกับความดันโลหิตสูง ทั้ง ๆ ที่ ไตทำหน้าที่สำคัญในการควบคุมระดับความดันโลหิตในร่างกายและมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด กับโรคความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยโรคไตมักจะมีความดันโลหิตสูง
ในทางตรงกันข้าม ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงนาน ๆ อาจทำให้ไตเสื่อมและพิการได้
(ความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่พบได้บ่อยมาก เพราะมีถึง 1 ใน 5 ของคน) 
แต่เนื่องจากโรคนี้ไม่มีอาการปรากฏให้เห็น ดังนั้น จึงมีเพียงส่วนน้อยเท่านั้น ที่รู้ตัว อาจจะโดยบังเอิญ จากการตรวจร่างกายด้วยเรื่องอื่น ๆ
โรคความดันโลหิตสูง แบ่งเป็นหลายประเภท 
ที่พบบ่อยที่สุดคือ ความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งมีถึง ร้อยละ 90
ปัจจุบัน แม้จะยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงแต่ที่ค่อนข้างแน่นนอนคือ มีส่วนเกี่ยวข้องกับความบกพร่องบางประการของไต ในการควบคุมระดับความดันโลหิต และความสมดุลในเกลือแร่โซเดียม 
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดปฐมภูมิ มักจะมีประวัติครอบครัวที่มีความดันโลหิตสูงร่วมด้วย แสดงให้เห็นว่า มีส่วนเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์
ความดันโลหิตสูงประเภทอื่น ๆ ที่เหลืออีกร้อยละ 10 มาจากโรคอื่น ๆ ที่มีสาเหตุแน่นอน ได้แก่ โรคไตวายเรื้อรัง, โรคไตอักเสบฉับพลัน, โรคหลอดเลือดแดงที่ไตตีบ-ตัน, โรคต่อมใต้สมองบางประเภท, โรคต่อมไธรอยด์เป็นพิษ, โรคต่อมพาราไธรอยด์ผิดปกติ, ความดันโลหิตสูงจากยาคุมกำเนิด และจากการกินฮอร์โมนทางประเภท
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ส่วนมากจะไม่มีอาการ จึงมักจะมีคำถามขึ้นในใจ เสมอว่า
เมื่อไม่มีอาการ ทำไมจึงต้องรักษา
จากการที่ผู้ป่วยไม่เห็นความสำคัญ ของการรักษา เพราะความที่ไม่รู้สึกเดือดร้อนอะไรจึงปล่อยให้ความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานหลาย ๆ ปี ในที่สุดเมื่อนานเข้า อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายเสียไปแล้ว จึงเกิดอาการขึ้น ผู้ป่วยเหล่านี้ ค่อยมาพบแพทย์ ซึ่งก็มักจะสายไปเสียแล้ว
เพราะการควบคุมความดันโลหิตในระยะที่อวัยวะต่าง ๆ เสื่อมเสียไปแล้วนั้น จะมีประโยชน์แค่เพียงประคับประคอง ไม่ให้ผิดปกติมากขึ้นเท่านั้น
หน้าที่ท่อไต ท่อไตทําหน้าที่ ภาพและหน้าที่ของท่อไต ท่อไตตีบ
ข้อควรรู้และปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่สามารถรักษาและควบคุมได้
- โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่ต้องควบคุมอย่างสม่ำเสมอไปตลอดชีวิต
- ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ถ้าควบคุมรักษาอย่างสม่ำเสมอ จะสามารถหลีกเลี่ยงโรคแทรกซ้อนอันทำให้เกิดผลเสียต่อหัวใจ, สมอง, ไต และตาได้
- ควรควบคุมน้ำหนักให้เหมาะสม ตามที่แพทย์แนะนำและกำหนด
เพราะการมีน้ำหนักตัวมากเกินไป จะทำให้ความดันโลหิตสูง ควบคุมได้ยาก
- ควรงดสูบบุหรี่
เพระการสูบบุหรี่ทำให้ความดันสูงขึ้น
นอกจากนั้น บุหรี่ยังทำให้เป็นโรคหลอดเลือดหล่อเลี้ยงหัวใจตีบ-ตัน เกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย และทำให้หลอดเลือดตีบ-ตันในสมอง เป็นอัมพาตได้
- ไม่ควรกินอาหารเค็ม
เพราะการเกลือโซเดียมมาก ๆ จะทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น และควบคุมได้ลำบาก
- ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ ทำจิตใจให้สบาย และหลีกเลี่ยงสภาวะตึงเครียดต่าง ๆ 
- ควรหลีกเลี่ยงอาหารประเภทที่มีไขมัน, ที่ทำให้โคเลสเตอรอล (Cholesterol) และไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) สูง
เพราะมีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบ-ตันที่หัวใจและสมอง
- ผู้ป่วยโรค โรคความดันโลหิตสูง ที่มีโรคไตผิดปกติอยู่ด้วย ต้องควบคุมความดันโลหิตให้ดีเป็นพิเศษ
เพราะความดันโลหิตสูงอยู่ตลอดเวลา จะทำลายไตให้เสื่อมเร็วยิ่งขึ้น
- อย่าซื้อยากินเอง
เพราะความดันโลหิต อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ และแพทย์อาจจะต้องปรับขนาด และชนิดยาตามลักษณะของผู้ป่วยเป็นราย ๆ ไป
ยารักษาความดันแต่ละชนิด มีความเหมาะสมแตกต่างไน สำหรับผู้ป่วยแต่ละคน
นอกจากนี้ ผลข้างเคียงจากยา อาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วย ถ้าใช้ยาไม่เหมาะสม
- ยาจีน และยาหม้อ อาจลดความดันโลหิตได้ แต่ผลจะไม่แน่นอน
นอกจากนั้น ยังอาจมีสารแปลกปลอมที่เป็นพิษต่อไตและตับ
โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่ต้องรับการรักษา และควบคุมอย่างสม่ำเสมอ
4. ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยเป็นโรคนิ่วในไตเพื่อป้องกันไตพิการ
นิ่วที่ไต เป็นโรคที่พบค่อนข้างบ่อย ถ้าเป็นโรคนิ่วแล้วไม่รักษา นิ่วที่เป็นอยู่อาจจะทำให้เกิดอาการต่าง ๆ ได้ เช่น อาการปวดปัสสาวะเป็นเลือด, ปัสสาวะแสบขัด, เป็นไข้, มีการติดเชื้อที่ไต
เมื่อนานเข้า นิ่วที่อุดตันทำให้ไตเสื่อมและวาย
นิ่วมีหลายชนิด ส่วนใหญ่เกิดจากสารแคลเซียมอ๊อกซาเลท (Calcium Oxalate) สารแคลเซียมฟอสเพต (calcium Phosphate) 
นอกจากนี้ นิ่วยังเกิดจาก กรดยูริค (Uric acid), เกิดจากสารประกอบแมนีเซียม(Magnesium Ammonium Phosphate) และเกิดจากสารซีสตีน (Cystine)
นิ่วบางชนิด สามารถรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำได้
ผู้ป่วยที่เป็นนิ่ว ถ้านิ่วหลุดออกเอง หรือได้รับการผ่าตัดออกมา ควรจะส่งนิ่วไปตรวจวิเคราะห์เพื่อจะได้รู้ว่าเป็นนิ่วชนิดใด และตรวจปัสสาวะ 24 ชั่วโมง เพื่อหาความผิดปกติทางร่างกาย ที่เป็นเหตุให้เกิดนิ่วชนิดนั้น ๆ 
ถ้าไม่ได้รับยาป้องกันนิ่ว ผู้ป่วยอาจจะเป็นนิ่วซ้ำข้นมาอีก
การเป็นนิ่วบ่อย ๆ และอุดตันไตนาน ๆ จะทำให้ไตอักเสบ, ติดเชื้อ, ไตเสื่อมและวาย
นิ่วบางชนิด อาจมียาป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดขึ้นมาอีก แต่ผู้ป่วยควรปรึกษาแพทย์ เพื่อรับการตรวจว่าเป็นนิ่วชนิดใด ก่อนที่จะใช้ยาป้องกันไม่ให้เกิดนิ่วซ้ำอีก
การกินยาขับนิ่ว กับการกินยาป้องกันไม่ให้เกิดนิ่ว เป็นคนละเรื่องกัน
การผ่าตัดเอานิ่วออก เป็นการแก้ไขปัญหาชั่วคราวเท่านั้น เพราะผู้ป่วยอาจมีนิ่วเกิดขึ้นใหม่ได้อีก
ดังนั้น การใช้ยาป้องกันจึงมีความสำคัญมาก เพราะเป็นการแก้ที่ต้นเหตุ
ปกติแล้ว นิ่วขนาดเล็กกว่า 0.5 เซนติเมตร มักจะหลุดออกมาได้เอง โดยไม่ต้องผ่าตัด
- โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่ต้องควบคุมอย่างสม่ำเสมอไปตลอดชีวิต
- ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ถ้าควบคุมรักษาอย่างสม่ำเสมอ จะสามารถหลีกเลี่ยงโรคแทรกซ้อนอันทำให้เกิดผลเสียต่อหัวใจ, สมอง, ไต และตาได้
- ควรควบคุมน้ำหนักให้เหมาะสม ตามที่แพทย์แนะนำและกำหนด
- ควรงดสูบบุหรี่
เพราะการสูบบุหรี่ทำให้ความดันสูงขึ้น
นอกจากนั้น บุหรี่ยังทำให้เป็นโรคหลอดเลือดหล่อเลี้ยงหัวใจตีบ-ตัน เกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย และทำให้หลอดเลือดตีบ-ตันในสมองเป็นอัมพาตได้
- ไม่ควรกินอาหารเค็ม
เพราะการกินเกลือโซเดียมมาก ๆ จะทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น และควบคุมได้ลำบาก
- ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ ทำจิตใจให้สบาย และหลีกเลี่ยงสภาวะตึงเครียดต่าง ๆ
- ควรหลีกเลี่ยงอาหารประเภทที่มีไขมัน, ที่ทำให้โคเลสเตอรอล (Cholesterol) และไตรกลีเซอไรด์ (Triglycderide) สูง
เพราะมีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบ-ตัน ที่หัวใจและสมอง
- ผู้ป่วยโรคโรคความดันโลหิตสูง ที่มีโรคไตผิดปกติอยู่ด้วย ต้องควบคุมความดันโลหิตให้ดีเป็นพิเศษ
เพราะความดันโลหิตสูงอยู่ตลอดเวลาจะทำลายไตให้เสื่อมเร็วยิ่งขึ้น
- ยาซื้อยากินเอง
เพราะความดันโลหิต อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ และแพทย์อาจจะต้องปรับขนาด และชนิดยาตามลักษณะของผู้ป่วยเป็นราย ๆ ไป
ยารักษาความดันแต่ละชนิด มีความเหมาะสมแตกต่างไน สำหรับผู้ป่วยแต่ละคน
นอกจากนี้ ผลข้างเคียงจากยา อาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วย ถ้าใช้ยาไม่เหมาะสม
- ยาจีน และยาหม้อ อาจลดความดันโลหิตได้ แต่ผลจะไม่แน่นอน
นอกจากนั้น ยังอาจมีสารแปลกปลอมที่เป็นพิษต่อไตและตับ 
โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่ต้องการรับการรักษา และควบคุมอย่างสม่ำเสมอมักจะหลุดออกมาได้เองโดยไม่ต้องผ่าตัด
นิ่วขนาดใหญ่กว่านี้ จะหลุดเองยาก ต้องอาศัยวิธีคีบ, เจาะ, หรือผ่าตัดเอาออก
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันนี้ มีการรักษานิ่วด้วยวิธีใหม่ที่ไม่ต้องใช้การผ่าตัด 
วิธีนี้ เรียกว่า การสลายนิ่ว (ESWL, Lithotripsy) 
หลักการของวิธีการนี้ คือ

การส่งกระแสคลื่นเสียงที่มีความถี่สูง เข้าไปสู่ก้อนนิ่วหลาย ๆ ครั้ง จนก้อนนิ่วแตกเป็นผงเล็ก ๆ และผู้ป่วยสามารถถ่ายผลนิ่วปนกับปัสสาวะออกมาได้เอง โดยไม่ต้องผ่าตัด
การสลายนิ่วที่ผู้ป่วย จะใช้เวลาพำนักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล เป็นเวลาเพียง 1-2 วันเท่านั้น 

แหล่งที่มา : vcharkarn.com

อัพเดทล่าสุด