https://cdc.iainponorogo.ac.id/wp-content/gampang-menang/https://cdc.iainponorogo.ac.id/-/demo/https://kebonagung.pacitankab.go.id/-/gampang-menang/
หน้าที่ของระบบประสาทส่วนปลาย โครงการสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ โคลงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ MUSLIMTHAIPOST

 

หน้าที่ของระบบประสาทส่วนปลาย โครงการสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ โคลงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ


879 ผู้ชม


หน้าที่ของระบบประสาทส่วนปลาย โครงการสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ โคลงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ

 

 

ระบบประสาทส่วนกลาง

 

และ ระบบประสาทส่วนปลาย 

 

ควบคุมให้ร่างกายทำงานได้อัตโนมัติ ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว และยังสามารถรับความรู้สึกต่างๆจากร่างกายแล้วส่งไปยังสมอง

 

ความรู้สึกเจ็บปวด จึงทำหน้าที่เสมือนสัญญาณเตือนภัยให้กับลเราเพื่อเราจะได้ค้นหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดและการกระทำการแก้ไขเหตุนั้น

 

- การกินยาเพื่อระงับความเจ็บปวดนั้นเป็นเพียงการตัดสัญญาณเตือนภัยแต่ไม่ได้แก้ที่ต้นเหตุของความเจ็บปวด

 

- ในกรณีหมอนรองกระดูกเคลื่อนไปกดทับรากประสาทที่ออกจากไขสันหลังซึ่งไปเลี้ยงแขนหรือขา มีอาการปวดร้าวและเสียวชาตามแขนอาจได้รับบาดเจ็บจากการเกิดอุบัติเหตุหรือยกของหนัก

 

ถ้าหลอดเลือดแดงในสมองมีการแตก ตีบ หรือตัน ทำให้ส่วนนั้นขาดเลือดไม่สามารถควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆได้ตามปกติทำให้เกิดอัมพาตครึ่งซีกมีอาการอ่อนแรงของแขน และขาซ กใดซีกหนึ่งของร่างกาย หรือในกรณีที่ไขสันหลังได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ การนวดไม่สามารถป้องกันการลีบของกล้ามเนื้ออัมพาตได้ แต่จะช่วยการไหลเวียนของเลือด บริเวณกล้ามเนื้อดีขึ้น ผลทำให้เกิดการฟื้นตัวได้ง่าย ช่วยให้ร่างกายส่วนนั้นกลับคืนสู่สภาพปกติได้

หน้าที่ของระบบประสาทส่วนปลาย โครงการสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ โคลงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ

 

ค. ระบบประสาทอัตโนวัติ (ANS)

 

เป็นรูประบบประสาทที่ควบคุม โดยไม่ต้องรับคำสั่งจากสมอง อยู่นอกอำนาจ อยู่นอกอำนาจจิตใจ ตัวอย่างเช่นการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจเมื่อเวลาตื่นเต้น ตกใจ หรือการทดสอบปราทขา คือการนำฆ้อนของแพทย์มาตีเบาๆที่เข่าแล้วเข่ากระตุกอย่างเฉียบพลัน

โรคเกี่ยวกับระบบประสาท อาจเกิดได้จาก

 

1. จากพันธุกรรม เช่นปัญญาอ่อน

 

2. เชื้อโรค เช่น มะเร็ง เนื้องอก

 

3. สิ่งแวดล้อม เช่น โรคเส้นเลือดในสมองแตก สารพิษพวกปรอท

 

ฮอร์โมน(Hormone) ต่อมไร้ท่อผลิต ซึ่งซึมเข้าสู่กระแสโลหิต จะทำงาน ประสานงานกับระบบประสาท ถ้ามีปริมาณมากหรือน้อยเกินไปอาจทำให้เกิดอาการผิดปกติท่างร่างกายได้เช่น โรคเบาหวาน ร่างกายพิการ

 

อินซูลิน(Insulin) ต่อมไร้ท่อที่อยู่ในตับอ่อน ควบคุมปริมาณน้ำตาลที่ซึมเข้าสู่เซลล์หากมีน้อยหรือมากหรือไม่มี จะทำให้เกิดโรคเบาหวาน

 

Growth Hormone ทำให้เกิดการเจริญ พัฒนาส่วนต่างๆ ของร่างกายถ้าขาดจะทำให้รูปร่างเล็กแกรน ฮอร์โมนเพศช่วยควบคุมการเติบโตของลักษณะทางเพศ


แหล่งที่มา : hbd2-sci.exteen.com

อัพเดทล่าสุด