พฤติกรรมผู้นําที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา กรณีศึกษา บริษัท อีซูซุเอ็นยิ่น แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด


765 ผู้ชม


พฤติกรรมผู้นําที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา กรณีศึกษา บริษัท อีซูซุเอ็นยิ่น แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด




พฤติกรรมผู้นําที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา

กรณีศึกษา บริษัท อีซูซุเอ็นยิ่น แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด

 

สมบูรณ์ นุกูลอุดมพานิชย


บทคัดย่อ


การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้นําของผู้บังคับบัญชาที่มีผลต่อความพึง พอใจในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา โดยทําการศึกษาใน 2 ส่งวนคือ ศึกษาพฤติกรรมของผู้นํา ของผู้บริหารระดับล่างที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานประจําโรงงาน และศึกษา พฤติกรรมผู้นําของผู้บริหารระดับกลางที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับล่าง และพนักงานประจําสํานักงาน
กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานในบริษัท อีซูซุเอ็นยิ่น แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด จํานวน ทั้งสิ้น 315 คน ประกอบด้วยพนักงานประจําโรงงาน 191 คน พนักงานประจําสํานักงาน 65 คน (วิศวกร หรือช่างเทคนิค 23 คน, ไม่ใช่วิศวกร หรือช่างเทคนิค จํานวน 42 คน) ผู้บริหารระดับล่างจํานวน 59 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดย สอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงานจํานวน 24 ข้อ และความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้นํา 5 รูปแบบตามทฤษฎีตาข่ายการจัดการจํานวน 35 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย, ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน, การทดสอบค่าที, การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว, การทดสอบความ แตกต่างเป็นรายคู่โดยวิธี LSD และการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์ส้น ผลการวิจัยพบว่า
1. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวมของพนักงานประจําโรงงาน, พนักงานประจําสํานักงาน และผู้บริหารระดับล่างอยู่ในระดับปานกลาง
2. การเปรียบเทียบข้อมูลส่วนตัวของพนักงานประจําโรงงาน กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานพบว่า
2.1 พนักงานประจําโรงงานเพศชาย และหญิง มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2.2 พนักงานประจําโรงงานที่มีอายุ, สถานภาพสมรสและประสบการณ์การทํางาน แตกต่างกันมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. การเปรียบเทียบข้อมูลส่วนตัวของพนักงานประจําสํานักงาน และผู้บริหารระดับล่าง กับ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานพบว่า พนักงานประจําสํานักงาน และผู้บริหารระดับล่างซึ่งมีเพศ, อายุ, สถานภาพสมรส, ระดับการศึกษา, ระดับตําแหน่งและประสบการณ์ในการทํางานแตกต่างกัน มีความพึง พอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. การเปรียบเทียบข้อมูลส่วนตัวของพนักงานประจําโรงงาน กับความคิดเห็นต่อพฤติกรรมของผู้นําของผู้บริหารระดับล่างพบว่า
4.1 พนักงานประจําโรงงานเพศชายและหญิงมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมผู้นําของ ผู้บริหารระดับล่างแตกต่างกันทุกรูปแบบของพฤติกรรมผู้นําอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4.2 พนักงานประจําโรงงานซึ่งมีสถานภาพสมรส, อายุและประสบการณ์ทํางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมผู้นําของผู้บริหารระดับล่างแตกต่างกันทุกรูปแบบของพฤติกรรมอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ยกเว้นพนักงานประจําโรงงานซึ่งมีสถานภาพสมรสต่างกัน มีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมผู้นําของผู้บังคับบัญชาแบบสายกลางแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
5. การเปรียบเทียบข้อมูลส่วนตัวของพนักงานประจําสํานักงาน และผู้บริหารระดับล่าง กับความคิดเห็นต่อพฤติกรรมผู้นําของผู้บริหารระดับกลางพบว่า
5.1 พนักงานประจําสํานักงาน และผู้บริหารระดับล่างซึ่งมีเพศ และสถานภาพสมรส แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมผู้นําของผู้บริหารระดับกลาง ทุกรูปแบบของพฤติกรรมผู้นํา แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
5.2 พนักงานประจําสํานักงาน และผู้บริหารระดับล่างที่มีอายุแตกต่างกัน มีความ คิดเห็นต่อพฤติกรรมผู้นําของผู้บริหารระดับกลาง แบบทีม และแบบด้อยคุณภาพแตกต่างกันอย่างไม่มี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05แต่มีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมผู้นําของผู้บริหารระดับกลาง แบบมุ่งงาน, แบบสโมสร และแบบสายกลาง แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
5.3 พนักงานประจําสํานักงาน และผู้บริหารระดับล่าง ที่มีระดับการศึกษาแตกต่าง กัน มีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมผู้นําของผู้บริหารระดับกลาง แบบสโมสรแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญ ที่ระดับ .05 แต่พฤติกรรมผู้นําแบบมุ่งงาน, แบบสายกลาง, แบบด้อยคุณภาพ และแบบทีม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ .05
5.4 พนังกานประจําสํานักงาน และผู้บริหารระดับล่าง ที่มีตําแหน่งและประสบการณ์ การทํางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมผู้นําของผู้บริหารระดับกลาง ทุกรูปแบบของพฤติกรรม ผู้นําแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมผู้นําของ ผู้บริหารระดับกลาง แบบทีม แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
6. แบบพฤติกรรมผู้นําของผู้บริหารระดับกลางและล่างแบบทีม, แบบสายกลาง และแบบ สโมสร มีความสัมพันธ์ในทางเดียวกันกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา แต่แบบ มุ่งงาน และแบบด้อยคุณภาพมีความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้ามกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ ผู้ใต้บังคับบัญชา


Abstract


The purposes of this research were to study leader behavior towards subordinates'' job satisfaction in 2 areas: leader behavior of bottom supervisors towards factory employees'' job satisfaction and leader behavior of middle supervisors towards bottom supervisors and office employees'' job satisfaction.
The sample of the study consisted of 315 employees in company who were 191 employees in factory, 65 employees in office (consisted of 23 engineers and technicians, 42 non- engineers and non- technicians) and 59 bottom supervisors.
The instruments used for collecting data were two five-rating scale questionnaires with 24 items asking subordinates'' job satisfaction and 35 items asking 5 leaderships styles of Managerial grid theory.
The statistics used in data analyzing were arithmetic means, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, LSD post hoc comparison test and Pearson product-moment correlation coefficient.
The results of the study are as follows:
1. Factory employees, office employees and bottom supervisors'' job satisfaction in overall is at the middle level.
2. Factory employees'' personal data towards job satisfaction are as follows:
2.1 Factory employees'' job satisfaction between male and female is statistically significant different at .05 level.
2.2 Factory employees'' job satisfaction in different age, marriage and experience is not statistically significant different at .05 level.
3. Office employees and bottom supervisors'' different personal data (sex, age, marriage, study, class and experience) towards job satisfaction are not statistically significant different at .05 level
4. Factory employees'' personal data towards opinion in bottom supervisors'' leadership styles are as follows:
4.1 Factory employees'' personal data, between male and female, towards opinion id bottom supervisors'' leadership styles are statistically significant different at .05 level in overall styles.
4.2 Factory employees'' personal data ,in different marriage, age and experience, towards opinion in bottom supervisors'' leadership styles are not statistically significant different at .05 level in overall styles except factory employees'' personal data ,in different marriage status, towards opinion in bottom supervisors'' middle of the road management style are
statistically significant different at .05 level.
5. Office employees and bottom supervisors'' personal data towards opinion in middle supervisors'' leadership styles are as follows:
5.1 Office employees and bottom supervisors'' personal data ,in different sex and marriage status, towards opinion in middle supervisors'' leadership styles are not statistically significant different at .05 level in overall styles.
5.2 Office employees and bottom supervisors'' personal data ,in different age, towards opinion in middle supervisors'' team management style and impoverished management style are not statistically significant different at .05 level. But authority obedience, country club and middle of the road management style are statistically significant different at .05 level.
5.3 Office employees and bottom supervisors'' personal data ,in different study, towards opinion in middle supervisors'' country club management style are not statistically significant different at .05 level but the other management styles are statistically significant different at .05 level.
5.4 Office employees and bottom supervisors'' personal data ,in different class and experience, toward opinion in middle supervisors'' team management style are statistically significant different at .05 level but the other management styles are not statistically significant different at .05 level.
6. Middle supervisors and bottom supervisors'' team management, middle of the road management and country club management style have relation in same direction with subordinates'' job satisfaction but authority obedience management and impoverished management style have relation in opposite direction with subordinates'' job satisfaction.

 

ที่มา : thaihrhub.com

อัพเดทล่าสุด