https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/https://zonalapor.fis.unp.ac.id/-/slot-terbaik/https://sepasi.tubankab.go.id/2024tte/storage/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/runguard/https://satudata.kemenpora.go.id/uploads/terbaru/
ค่าน้ำมันรถ สำหรับพนักงาน ที่ใช้รถยนต์ส่วนตัวไปในกิจธุระของบริษัท MUSLIMTHAIPOST

 

ค่าน้ำมันรถ สำหรับพนักงาน ที่ใช้รถยนต์ส่วนตัวไปในกิจธุระของบริษัท


1,077 ผู้ชม


ค่าน้ำมันรถ สำหรับพนักงาน ที่ใช้รถยนต์ส่วนตัวไปในกิจธุระของบริษัท




นายจ้างบางรายได้กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการเบิกค่าน้ำมันรถให้แก่พนักงานที่นำรถยนต์ส่วนตัวไปใช้ในกิจธุระของบริษัท โดยจ่ายให้เป็นอัตราต่อกิโลเมตร

 

ค่าน้ำมันรถที่จะได้รับยกเว้น  ไม่ต้องนำมาคำนวณภาษีตาม ม..42(1)

“ค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะ ซึ่งลูกจ้างหรือผู้รับหน้าที่หรือตำแหน่งงาน หรือผู้รับทำงานให้ ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะ ในการที่จะต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตนและได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น”   ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วยหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังนี้

ต้องมีหลักฐานการใช้รถและพิสูจน์ได้ว่าเป็นการจ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ของตน  และจำนวนเงินค่าใช้จ่ายนั้นได้จ่ายไปทั้งหมดเพื่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่นั้นด้วย
  • มีระเบียบของนายจ้างอนุญาตให้มีการเบิกจ่ายค่าน้ำมันรถได้
  • มีหนังสือหรือบันทึกอนุญาตให้เดินทางไปติดต่องาน  ระบุว่าเป็นการเดินทางจากที่ใดไปที่ใด  ระยะทางเท่าใด  ชื่อเจ้าของรถ และหมายเลขทะเบียนรถ 
  • ใบเสร็จค่าน้ำมันรถที่ระบุชื่อเจ้าของรถ  หมายเลขทะเบียนรถ

นอกเหนือจากหลักเกณฑ์ดังกล่าวที่ระบุข้างต้น   ถือเป็นประโยชน์เพิ่มที่ลูกจ้างได้รับจากการทำงานตาม ม.40(1) แห่งประมวลรัษฎากร   ซึ่งจะต้องนำเงินจำนวนนั้นมาคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วย

 

 

ที่มา : สมาชิก HR

อัพเดทล่าสุด