แนวทางการตรวจความปลอดภัยและการป้องกันอันตรายในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ


1,879 ผู้ชม


แนวทางการตรวจความปลอดภัยและการป้องกันอันตรายในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ




ประเภทของอันตราย

สาเหตุ

การป้องกัน

1.        อุบัติเหตุ

1.1      การบาด  ตัด  หนีบ

กระแทกส่วนของร่างกาย

 

 

เครื่องมือ/เครื่องจักรมี

สภาพหรือมีส่วนที่ไม่

ปลอดภัย  ทำให้เกิดการบาด ตัด หนีบ กระแทก

ส่วนต่างๆของร่างกายได้

เข่น การปั้ม  การเจาะ

การประกอบชิ้นงาน ฯลฯ

ซึ่งมีจุดอันตรายจากส่วน

ส่งถ่ายกำลัง  หรือส่วนที่

เคลื่อนไหว

 

- ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เครื่องจักร

(Machine guarding) เพื่อป้องกันส่วนที่เป็น

จุดตัด จุดหนีบ จุดกระแทก บริเวณจุดหมุน

ฯลฯ

เครื่องปั๊มโลหะชนิดที่ใช้เท้าเหยียบตัองมีการ

ป้องกันเท้าเหยียบโดยมิได้ตั้งใจ  และหากเป็น

ชนิดใช้มือป้อนต้องมีเครื่องป้องกันมือให้พ้น

จากแม่ปั๊ม  หรือจัดให้มีเครื่องป้อนวัตถุแทนมือ

เครื่องจักรชนิดอัตโนมัติ  ต้องมีสวิตช์ปิด-เปิด

ที่แตกต่างกัน  คือปุ่มปิดเป็นสีดำ  และปุ่มเปิด

เป็นสีเขียว

 

 

- จัดทำอุปกรณ์ป้องกันส่วนที่หมุนได้ของ

เครื่องจักร เช่นเพลา สายพาน ปุลเล เฟือง โซ่

ใช้สวิตช์สองทางเพื่อให้ใช้สองมือพร้อมกัน

ขณะปฎิบัติงาน

ใช้ระบบอัตโนมัติในการป้อนและนำชิ้นงาน

ออก  หรือใช้อุปกรณ์หยิบจับชิ้นงานแทนมือ

จัดทำรั้วคอกกั้นหรือแสดงเขตอันตรายของ

เครื่องจักร

ตรวจเช็คและบำรุงรักษาเครื่องจักร  และ

เครื่องมือกลให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ปลอดภัย

การปฎิบัติงานที่ไม่ถูกวิธี

กำหนดวิธีปฎิบัติงานที่ปลอดภัย

 

อบรมลูกจ้างให้ทำงานอย่างถูกวิธีและ

ปลอดภัย

เฝ้าสังเกตการทำงานโดยหัวหน้างาน  และ

เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

1.2 ลื่น/หกล้ม

พื้นลื่น หรือมีความมัน  

สิ่งของเกะกะเส้นทาง

ดูแลพื้นที่ทำงานไม่ให้มีคราบน้ำมัน   หรือมี

ความชื้นแฉะ

จัดความเป็นระเบียบเรียบร้อย

1.3 วัสดุหล่นถูกมือ

เท้า/ส่วนชองร่างกาย

ถูกกระแทกหรือชนจาก

วัสถุ

ความแออัดคับแคบของ

พื้นที่วางชิ้นงาน  และพื้น

ที่ปฎิบัติงาน

จักให้มีพื้นที่วางชิ้นงานที่เหมาะสมและ

ปลอดภัย

   

ทางเดินสำหรับการปฎิบัติงานเกี่ยวกับ

เครื่องจักร  ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า  80

..

 

ความไม่เป็นระเบียบภาย

ในบริเวณพื้นที่ทำงาน

จัดความเป็นระเบียบในสถานที่ทำงาน

จัดกิจกรรม 5

 

ส่วนของอุปกรณ์อหรือ

เครื่องจักร  ขณะทำงานมี

ส่วนทีเคลื่อนไหวเลยออก

จากตัวเครื่องจักร

จัดทำรั้ว  คอกกั้น  หรือเส้นแสดงเขตที่มีส่วน

เคลื่อนไหวไปมาของเครื่องจักร

ติดป้ายเตือนอันตราย

1.4 เศษโลหะกระเด็น

เข้าตา

ไม่มีที่ป้องกันวัสดุ

กระเด็น

ต้องจัดทำที่ป้องกันวัสดุกระเด็นติดไว้ที่

   เครื่องจักร

 

ไม่สวมใส่แว่นตาป้องกัน

ขณะปฎิบัติงานต้องสวมใส่แว่นตา

 

 

จัดให้มีเส้นทางหนีไฟที่ปลอดภัย

จัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย

จัดให้มีการฝึกอบรมดับเพลิงเบื้องต้น  ฝึก

ซ้อมดับเพลิง  และฝึกซ้อมหนีไฟ

2. ผลต่อสุขภาพ

2.1 ปัจจัยทางกายภาพ

2.11สูญเสียสมรรถภาพ

การได้ยิน

 

 

- การได้ยินเสียงดังจากการ

ปั๊มโลหะ และเครื่องจักรติด

ต่อกันเป็นเวลานาน

 

 

ตรวจวัดระดับเสียง  หากมีระดับเสียงเกิน

มาตรฐานกำหนดต้องแก้ไขที่แหล่งกำเนิดเสียง

เช่น  การลดความสั่นสะเทือน  การใช้วัสดุดูด

ซับเสียงการใช้ฉากกำบังเสียง ฯลฯ  หากแก้ไข

ไม่ได้  ต้องให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์ลดเสียง เช่น  ปลั๊กลดเสียง  หรือที่ครอบหูลดเสียง

 

 

ตรวจสุขภาพร่างกายเป็นประจำ  โดยการ

ตรวจสมรรถภาพการได้ยินให้กับลูกจ้างเพื่อ

เฝ้าระวังโรค

หมุนเวียนหน้าที่การทำงานเพื่อลดระยะ

เวลาการสัมผัสเสียงดัง

เครื่องจักรมีสภาพที่ไม่สมบูรณ์  เกิดการสึกหรอชำรุด  และขาดการบำรุงรักษา

ตรวจสอบ  และดูแลบำรุงรักษาเตรื่องจักร

เครื่องมือกล  เพื่อให้มีการทำงานที่เป็นปกติ

2.1.2 อันตรายต่อตาสายตา  และกล้ามเนื้อตา

การจัดแสงสว่างไม่เพียงพอต่อการทำงาน  เช่น

การตกแต่งชิ้นงาน  การประกอบชิ้นงาน  การปั๊มโลหะ เป็นต้น

ตรวจวัดระดับความเข้มของแสงสว่าง  และ

ปรับปรุงให้บริเวณการทำงานมีแสงสว่างที่เหมาะสม  โดยการติดตั้งหลอดไฟเพิ่ม  หรือ

บำรุงรักษาระบบแสงสว่างอย่างสม่ำแสมอ

แสงจ้าจากแหล่งกำเนิดแสงหรืองานเชื่อมโลหะ

ให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

2.2 ปัจจัยทางเคมี

2.2.1 ระคายเคืองทางเดินหายใจ  และผิวหนัง

 

- สัมผัสสารเคมีที่เคลือบผิว

โลหะ น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันหล่อเย็น    หรือน้ำยาทำความสะอาดโลหะ

 

เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสด้วยมือโดยตรง  ใช้อุปกรณ์จับชิ้นงาน

สัมผัสหรือหายใจสารเคมี

ทำความสะอาด หรือสารเคมีเคลือบผิวโลหะ

(ตะกั่ว โครเมี่ยม สังกะสี)

ตรวจวัดปริมาณสารเคมีในบรรยากาศการทำงาน  และควบคุมมิให้มีปริมาณในอากาศเกินมาตรฐาน  โดยจัดระบบระบายอากาศเฉพาะที่  หรือระบายอากาศทั่วไปในโรงงานให้เหมาะสม

จัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วน-บุคคล  ให้เหมาะสมกับสภาพงาน

อบรมลูกจ้างให้มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากสารเคมีและวิธีป้องกัน

สอน  กำกับ  ดูแลให้ลูกจ้างปฎิบัติตามกฎ

ระเบียบ  หรือมาตรการความปลอดภัย

 

2.2.2 ฝุ่นผงโลหะ

เกิดจากขั้นตอนการ

ทำงานที่อาจทำให้เกิดฝุ่นหรือขั้นตอนตกแต่งชิ้นงาน

ตรวจวัดปริมาณฝุ่นในบรรยากาศการทำงาน

หากมีปริมาณเกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดให้นายจ้างต้องดำเนิดการแก้ไข  หรือปรับปรุง  เช่น  จัดระบบระบายอากาศเฉพาะที่  เพื่อลดปริมาณของฝุ่นในบริเวณการทำงาน

สวมใส่ที่ครอบจมูก  และการสวมใส่ชุดทำงานที่เหมาะสม  เพื่อป้องกันอันตรายต่อผิวหนัง/ทางเดินหายใจ

ตรวจสุขภาพร่ายกายของลูกจ้างเป็นประจำเพื่อเฝ้าระวังโรค  เช่น  เอกซเรย์ปอด  ทดสอบ

สมรรถภาพปอด การตรควจโรคผิวหนัง เป็นต้น

2.3 ปัญหาทางการย-ศาสตร์

ได้แก่ การปวดเมื่อย ล้า

กล้ามเนื้อจากท่าทาง

การทำงาน การยกของ

และ การทำงานติดต่อกันเป็นเวลานาน

 

 

มีท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม  เช่น  การยืนนานๆ  การเอื้อม  การยกของ

 

 

ควรปรับปรุงสถานที่ทำงาน  และสภาพงาน

ให้เหทาะสมกับขนาดคนงาน  เช่น  ปรับระดับ

และระยะของพื้นที่วางชิ้นงานให้เหมาะสม

 

 

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับท่าทางการทำงานที่ถูกต้อง  และการยกของที่ถูกวิธี

เฝ้าสังเกตการทำงานโดยหัวหน้างาน  และ

เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

การยกของที่มีน้ำหนักมากด้วยแรงคน

พิจารณาจัดหาอุปกรณ์ช่วยยกแทนการยกด้วยแรงคน

ยกของในลักษณะต่างๆ   ควรมีน้ำหนักที่    เหมาะสม

งานที่มีการยกของที่ติดต่อกันเป็นเวลานาน

จัดเวลาพัก  เวลาทำงานให้เหมาะสมเพื่อลด

ความเมื่อยล้า  และป้องกันโรคที่เกี่ยวกับ

กล้ามเนื้อ  และกระดูก  และการหมุนเวียนงานคนทำงาน

ตรวจสมรรถภาพของกล้ามเนื้อ

ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม


อัพเดทล่าสุด