การพัฒนากฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
การพัฒนากฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ปัจจัยที่มีผลผลักดัน
ในยุคที่มีการแข่งขันกันเพื่อย่างเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นการนำโลกเข้าสู่ยุคแห่งการจัดระเบียบใหม่ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองระหว่างประเทศ ซึ่งก่อให้เกิดทั้งโอกาสและภัยคุกคามต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย
แรงผลักดัน 4 กระแส
1) กระแสโลกาภิวัฒน์ (Globolization)
- เทคโนโลยีสารสนเทศ
- การค้าเสรีในตลาดโลก
- การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต
- การลงทุนข้ามชาติ
- การเร่งถ่ายทอดเทคโลโลยี
2) การเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ (Democracy)
- ประชาชนมีสิทธิในการรับรู้ข่าวสารผ่านสื่อต่าง ๆ
- ประชาชนมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็น
- สังคมมีพลังต่อรองมากขึ้น
- การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
3) สิทธิมนุษยชน (Human Right)
- ความเท่าเทียมกันในสังคม
- การใช้แรงงาน
- แรงงานข้ามชาติ
4) การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Conservation)
- การตระหนักร่วมกันอย่างกว้างขวาง
- การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
- การเสียดุลยภาพในการพัฒนาที่รุนแรง
- Transboundary Air Pollution
- อื่น ๆ