ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน


1,051 ผู้ชม


ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร




เงื่อนไขการเกิดสิทธิ
ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน
จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน ภายในระยะเวลา 36 เดือน ก่อนเดือนที่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน
ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน  เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 หรือ มาตรา 39

ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร
เงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่าย เดือนละ 200 บาท ต่อบุตรหนึ่งคน

  ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน  เงื่อนไขของบุตรที่ได้รับการสงเคราะห์
ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน
 เงินสงเคราะห์บุตรสำหรับบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งมีอายุไม่เกิน 6 ปี บริบูรณ์ จำนวนคราวละไม่เกิน 2 คน (บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายดังกล่าว ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่น)
ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน  ผู้ประตนมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน ในกรณีสงเคราะห์บุตร สำหรับบุตรที่มีอายุไม่เกิน 6 ปี บริบูรณ์ เว้นแต่ ผู้ประกันตนเป็นผู้ทุพพลภาพ หรือถึงแก่ความตาย ในขณะที่บุตรมีอายุไม่เกิน 6 ปี บริบูรณ์ จะมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนต่อ จนอายุ 6 ปี บริบูรณ์

ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน  หลักเกณฑ์การใช้สิทธิขอรับประโยชน์ทดแทน
ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน  
ในกรณีที่บิดามารดาเป็นผู้ประกันตน ให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้มีสิทธิรับประโยชน์ทดแทนเพียงฝ่ายเดียว
ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน  ผู้ประกันตนมีสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทน สำหรับบุตรคราวละไม่เกิน 2 คน โดยนับลำดับการเกิดก่อนหลัง
ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน  เมื่อผู้ประกันตนมีการจดทะเบียนหย่า หรือแยกกันอยู่ และบุตรอยู่ในอุปการะของผู้ประตนฝ่ายใด ให้ฝ่ายนั้นมีสิทธิรับประโยชน์ทดแทน
ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน  ในกรณีที่ผู้ประกันตนชายไม่ได้จดทะเบียนสมรส การขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร สามารถทำได้ 3 วิธี คือ
1) จดทะเบียนสมรส
2) จดทะเบียนรับรองบุตร (ตามที่กำหนดไว้ในประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์)
3) ยื่นเรื่องต่อศาล ให้พิพากษารับรองบุตร

อัพเดทล่าสุด