หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33


870 ผู้ชม


หมวด 2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 21 ในกรณีที่ไม่มีการเจรจากันภายในกำหนดตาม มาตรา 16 หรือมีการเจรจากันแล้วแต่ตกลงกันไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้ถือว่าได้มีข้อ พิพาทแรงงานเกิดขึ้น และให้ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงาน ประนอมข้อพิพาทแรงงานทราบภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง นับแต่เวลาที่พ้นกำหนด ตาม มาตรา 16 หรือนับแต่เวลาที่ตกลงกันไม่ได้ แล้วแต่กรณี
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 22 เมื่อพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานได้รับแจ้งตาม มาตรา 21 แล้ว ให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานดำเนินการไกล่เกลี่ยเพื่อให้ ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้อง และฝ่ายรับข้อเรียกร้องตกลงกันภายในกำหนดห้าวัน นับแต่วันที่พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานได้รับหนังสือแจ้ง
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 ถ้าได้มีการตกลงกันภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้นำ มาตรา
18 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 ในกรณีที่ไม่อาจตกลงกันได้ภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าข้อ พิพาทแรงงานนั้น เป็นข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ ในกรณีเช่นว่านี้ นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันตั้งผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานตาม มาตรา
26 หรือนายจ้างจะปิดงานหรือลูกจ้างจะนัดหยุดงานโดยไม่ขัดต่อ มาตรา 34 ก็ได้ ทั้งนี้ ภายใต้บังคับ มาตรา 23 มาตรา 24 มาตรา 25 หรือ มาตรา 36
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 23 เมื่อมีข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ในกิจการ
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (1) การรถไฟ
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (2) การท่าเรือ
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (3) การโทรศัพท์หรือการโทรคมนาคม
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (4) การผลิตหรือการจำหน่ายพลังงาน หรือกระแสไฟฟ้าแก่ประชาชน
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (5) การประปา
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (6) การผลิตหรือการกลั่นน้ำมันเชื้อเพลิง
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (7) กิจการโรงพยาบาลหรือกิจการสถานพยาบาล
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (8) กิจการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 ให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานส่งข้อพิพาทแรงงาน ให้คณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ์เพื่อพิจารณาวินิจฉัย และแจ้งให้ทั้งสองฝ่ายทราบภายในสาม สิบวันนับแต่วันที่รับข้อพิพาทแรงงาน
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 นายจ้าง สมาคมนายจ้าง สหพันธ์นายจ้าง ลูกจ้าง สหภาพแรงงานหรือ สหพันธ์แรงงาน มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้คำวินิจฉัย ให้รัฐมนตรีวินิจฉัยอุทธรณ์ และแจ้งให้ทั้งสองฝ่ายทราบภายในสิบวันนับแต่วันที่ รับคำอุทธรณ์
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 คำวินิจฉัยของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ที่มิได้อุทธรณ์ภายในกำหนด และคำวินิจฉัยอุทธรณ์ของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องและฝ่าย รับข้อเรียกร้องต้องปฏิบัติตาม
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 24 เมื่อมีข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ในกิจการใดนอกจาก กิจการ ตาม มาตรา 23 ถ้ารัฐมนตรีเห็นว่าข้อพิพาทแรงงานทีตกลงกันไม่ได้ นั้นอาจมีผลกระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจของประเทศหรือความสงบเรียบร้อย ของประชาชนรัฐมนตรี มีอำนาจสั่งให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ชี้ขาดข้อ พิพาทแรงงานนั้นได้ และให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ชี้ขาดภายในสามสิบ วันนับแต่วันที่รับคำสั่ง
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 รัฐมนตรีมีอำนาจขยายระยะเวลาให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ชี้ขาด ได้ตามที่เห็นสมควร
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 คำชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ให้เป็นที่สุด ฝ่ายแจ้งข้อ เรียกร้องฝ่ายเรียกร้องต้องปฏิบัติตาม
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 25 ในกรณีที่มีการประกาศใช้กฎอัยการศึกตามกฎหมาย ว่าด้วยกฎอัยการศึก หรือประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินตามกฎหมาย ว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือในกรณีที่ประเทศ ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างร้ายแรง ให้รัฐมนตรีอำนาจประกาศ ในราชกิจจานุเบกษากำหนดให้ข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ตาม มาตรา 22 วรรคสาม อันเกิดขึ้นในท้องที่ใดท้องที่หนึ่ง หรือกิจการประเภท ใดประเภทหนึ่งได้รับการพิจารณาชี้ขาดจากคณะบุคคลคณะใดคณะหนึ่ง ตามที่รัฐมนตรี จะได้กำหนดหรือแต่งตั้งก็ได้
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 คำชี้ขาดของคณะบุคคลนั้นให้เป็นที่สุด ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องและ ฝ่ายรับข้อเรียกร้องต้องปฏิบัติตาม
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 ประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งจะยกเลิกเสีย เมื่อใดก็ได้โดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 26 เมื่อมีข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ตาม มาตรา 22 วรรคสามนายจ้าง และลูกจ้างอาจตกลงกันตั้งผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานคนหนึ่ง หรือหลายคนเพื่อชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานนั้นได้
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 27 ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้ทราบการตั้ง ให้ผู้ชี้ขาดข้อพิพาท แรงงานแจ้งเป็นหนังสือกำหนดวันส่งคำชี้แจงเกี่ยวกับข้อพิพาทแรงงาน และ วันเวลาและสถานที่ที่จะพิจารณาข้อพิพาทแรงงานให้ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องและ ฝ่ายรับข้อเรียกร้องทราบ
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 28 ในการพิจารณาข้อพิพาทแรงงาน ผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน ต้องให้โอกาสฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องและฝ่ายรับข้อเรียกร้องชี้แจ้งแถลงเหตุผล และนำพยานเข้าสืบ
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 29 เมื่อพิจารณาข้อพิพาทแรงงานเสร็จแล้ว ให้ผู้ชี้ขาดข้อพิพาท แรงงานทำคำชี้ขาดเป็นหนังสือ คำชี้ขาดอย่างน้อยต้องมีข้อความดังต่อไปนี้
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (1) วันเดือนปีที่ทำคำชี้ขาด
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (2) ประเด็นแห่งข้อพิพาทแรงงาน
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (3) ข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความ
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (4) เหตุผลแห่งคำชี้ขาด
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (5) คำชี้ขาดให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายปฏิบัติหรืองดเว้นปฏิบัติ คำชี้ขาดของผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน ให้ถือเสียงข้างมากและต้องลง ลายมือชื่อผู้ที่ขาดข้อพิพาทแรงงาน
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 ให้ผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน ส่งคำชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานให้ฝ่ายแจ้งข้อ เรียกร้องและฝ่ายรับข้อเรียกร้องหรือผู้แทนตาม มาตรา
13 หรือ มาตรา 16 ทราบภายในสามวันนับแต่วันที่ทำคำชี้ขาด พร้อมทั้งปิดสำเนาคำชี้ขาดไว้ ณ สถานที่ที่ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องทำงานอยู่
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 ให้ผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน นำคำชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานมาจดทะเบียน ต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ชี้ขาด
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 30 คำวินิจฉัยของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ที่มิได้อุทธรณ์ ภายในกำหนดและคำวินิจฉัยอุทธรณ์ของรัฐมนตรีตาม มาตรา 23 คำชี้ขาดของ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ตาม มาตรา 24 มาตรา 35 (4) หรือ มาตรา 41 (3) คำชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานตาม มาตรา 25 หรือ มาตรา 29 ให้มีผล ใช้บังคับได้เป็นเวลาหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้วินิจฉัยหรือวันที่ได้ชี้ขาด
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 31 เมื่อได้มีการแจ้งข้อเรียกร้องตาม มาตรา 13 แล้ว ถ้าข้อ เรียกร้องนั้นยังอยู่ในระหว่างการเจรจาการไกล่เกลี่ย หรือการชี้ขาดข้อ พิพาทแรงงานตาม มาตรา 13 ถึง มาตรา 29 ห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้างหรือ โยกย้ายหน้าที่การงานลูกจ้างผู้แทนลูกจ้าง กรรมการ อนุกรรมการ หรือ สมาชิกสหภาพแรงงาน หรือกรรมการหรืออนุกรรมการสหพันธ์แรงงาน ซึ่ง เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง เว้นแต่บุคคลดังกล่าว
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (1) ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (2) จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (3) ฝ่าฝืนข้อบังคับ ระเบียบหรือคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายของนายจ้าง โดยนายจ้างได้ว่ากล่าวและตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีที่ร้ายแรง นายจ้างไม่จำต้องว่ากล่าวและตักเตือน ทั้งนี้ ข้อบังคับ ระเบียบหรือคำสั่งนั้น ต้องมิได้ออกเพื่อขัดขวาง มิให้บุคคลดังกล่าวดำเนินการเกี่ยวกับข้อเรียกร้อง
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 (4) ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวันทำงานติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุผลอัน สมควร
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 ห้ามมิให้ลูกจ้าง ผู้แทนลูกจ้าง กรรมการ อนุกรรมการ หรือสมาชิก สหภาพแรงงาน หรือกรรมการ หรืออนุกรรมการสหพันธ์แรงงาน ซึ่ง เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องสนับสนุน หรือก่อเหตุการนัดหยุดงาน
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 32 ห้ามมิให้บุคคลอื่นซึ่งมิใช่นายจ้าง ลูกจ้าง กรรมการสมาคม นายจ้างกรรมการสหภาพแรงงาน กรรมการสหภาพนายจ้างกรรมการสหพันธ์ แรงงานผู้แทนหรือที่ปรึกษาซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องเข้าไปดำเนินการหรือ ร่วมกระทำการใดๆ ในการเรียกร้อง การเจรจา การไกล่เกลี่ย การชี้ขาด พิพาทแรงงานการปิดงานหรือการชุมนุมในการนัดหยุดงาน
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33
มาตรา 33 ในกรณีที่ประเทศประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างร้ายแรง และได้มีการประกาศห้ามขึ้นราคาสินค้าและบริการ รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา ห้ามมิให้ลูกจ้าง สหภาพแรงงาน หรือสหพันธ์แรงงาน ยื่นข้อเรียกร้องให้นายจ้าง สมาคมนายจ้าง หรือสหพันธ์นายจ้างเพิ่มค่าจ้าง แก่ลูกจ้างหรือห้ามมิให้นายจ้างเพิ่มค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างได้
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับแก่การเลื่อนอัตราค่าจ้าง เพื่อเป็น บำเหน็จแก่ลูกจ้างประจำปี ซึ่งนายจ้างได้กำหนดไว้แน่นอนแล้ว หรือการ เลื่อนอัตราค่าจ้างเนื่องจากลูกจ้างเปลี่ยนแปลงหน้าที่การงาน
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33 ประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งจะยกเลิกเสียเมื่อใด ก็ได้โดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
หมวด2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน มาตรา 21- 33

อัพเดทล่าสุด