คมความคิด เกาะติดสถานการณ์
มุสลิมไทย
โพสต์
หน้าแรก
ข่าวเด่น
ข่าวโลกมุสลิม
ข่าวเจาะประเด็นโลก
ข่าวโลกอาหรับ
ข่าวกรรมการกลางฯ
ข่าวมุสลิมไทย
คอลัมนิสต์
ผู้หญิง
ปัตตานีดารุสลาม
ประเด็นร้อน
รูปภาพ
คลิป
เวลาละหมาด
คลังความรู้
อิสลามศึกษา
คลังความรู้
คลังสุขภาพ
ร้านอาหาร
แหล่งท่องเที่ยว
แฟชั่นมุสลิม
กูรูมุสลิมไทย
อัลกุรอาน
เกี่ยวกับเรา
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อโฆษณา
ติดต่อสำนักข่าว
ร่วมงานกับเรา
หน้าหลัก
ข่าวที่น่าสนใจ
หมวด3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน มาตรา 34- 36
1,215
ผู้ชม
การปิดงานและการนัดหยุดงาน
มาตรา
34 ห้ามมิให้นายจ้างปิดงานหรือลูกจ้างนัดหยุดงานในกรณี ดัง ต่อไปนี้
(1) เมื่อยังไม่มีการแจ้งข้อเรียกร้องต่ออีกฝ่ายหนึ่งตาม
มาตรา
13
หรือได้แจ้งข้อเรียกร้องแล้ว แต่ข้อพิพาทแรงงานนั้นยังไม่เป็นข้อพิพาท แรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ตาม
มาตรา
22
วรรคสาม
(2) เมื่อฝ่ายซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามข้อตกลงตาม
มาตรา
18
ได้ปฏิบัติ ตามข้อตกลง
(3) เมื่อฝ่ายซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติ ตามข้อตกลงที่พนักงานประนอมข้อ พิพาทแรงงงานได้ไกล่เกลี่ยตาม
มาตรา
22
วรรคสอง ได้ปฏิบัติตามข้อตกลง
(4) เมื่อฝ่ายซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติ ตามคำชี้ขาดของผู้ชี้ขาดข้อพิพาท แรงงานซึ่งตั้งตาม
มาตรา
25
หรือ
มาตรา
26
ได้ปฏิบัติตามคำชี้ขาด
(5) เมื่ออยู่ในระหว่างการพิจารณาวินิจฉัย ของคณะกรรมการแรงงาน สัมพันธ์หรือมีคำวินิจฉัยของรัฐมนตรี ตาม
มาตรา
23
หรือคำชี้ขาดของคณะ กรรมการแรงงานสัมพันธ์ตาม
มาตรา
24
(6) เมื่ออยู่ในระหว่างการชี้ขาดของผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานซึ่งตั้งตาม
มาตรา
25
หรือ
มาตรา
26
ไม่ว่ากรณีจะเป็นประกาศใด ห้ามมิให้นายจ้างปิดงานหรือลูกจ้างนัด หยุดงานโดยมิให้แจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน และอีก ฝ่ายหนึ่งทราบล่วงหน้าเป็นเวลาอย่างน้อยยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่รับแจ้ง
มาตรา
35 ในกรณีที่รัฐมนตรีเห็นว่าการปิดงานหรือการนัดหยุดงานนั้น อาจทำให้เกิดความเสียหายแก่เศรษฐกิจของประเทศหรืออาจก่อให้เกิดความ เดือดร้อนแก่ประชาชน หรืออาจเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ หรืออาจ ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน ให้รัฐมนตรีมีอำนาจดังต่อไปนี้
(1) สั่งให้นายจ้างซึ่งปิดงานรับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน และจ่ายค่าจ้าง ตามอัตราที่เคยจ่ายให้แก่ลูกจ้างนั้น
(2) สั่งให้ลูกจ้างซึ่งนัดหยุดงานกลับเข้าทำงานตามปกติ
(3) จัดให้บุคคลเข้าทำงานแทนที่ลูกจ้าง ซึ่งมิได้ทำงานเพราะการ ปิดงานหรือการนัดหยุดงาน นายจ้างต้องยอมให้บุคคลเหล่านั้นเข้าทำงานและ ห้ามมิให้ลูกจ้างขัดขวาง ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างแก่บุคคลเหล่านั้นตามอัตราที่ เคยจ่ายให้แก่ลูกจ้าง
(4) สั่งให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ดำเนินการชี้ขาดข้อพิพาท แรงงาน
มาตรา
36 ในกรณีที่มีประกาศใช้กฎอัยการศึกตามกฎหมายว่าด้วยกฎ อัยการศึก หรือประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินตามกฎหมายว่าด้วยการบริหาร ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจา- นุเบกษาห้ามีให้นายจ้างปิดงาน หรือลูกจ้างนัดหยุดงาน ในเขตท้องที่ที่ได้ ประกาศใช้กฎอัยการศึกหรือประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทั้งหมดหรือบางส่วนได้
ในกรณีที่มีการปิดงาน หรือการนัดงานอยู่ก่อนมีประกาศของรัฐมนตรี ตามวรรคหนึ่ง ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา สั่งให้นาย จ้างที่ปิดงาน รับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน หรือสั่งให้ลูกจ้างซึ่งนัดหยุดงานกลับ เข้าทำงานตามปกติภายในระยะเวลาที่รัฐมนตรีกำหนด
ประกาศของคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งจะยกเลิกเสียเมื่อใดก็ได้ โดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา
37 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า "คณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ์" ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นอีก ไม่น้อยกว่าแปดคน แต่ไม่เกินสิบสี่คน ในจำนวนนั้นอย่างน้อยต้องมีกรรมการ ซึ่งเป็นฝ่ายนายจ้างสามคน และฝ่ายลูกจ้างสามคนให้รัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้ง ประธานกรรมการและกรรมการ
มาตรา
38 ให้ประธานกรรมการ และกรรมการตาม
มาตรา
37
อยู่ใน ตำแหน่งคราวละสามปี ในวาระเริ่มแรกเมื่อครบกำหนดหนึ่งปี ให้ประธาน กรรมการและกรรมการพ้นจากตำแหน่งหนึ่งในสามโดยวิธีจับสลาก และเมื่อ ครบสองปีให้ประธานกรรมการหรือกรรมการที่เหลืออยู่พ้นจากตำแหน่งอีกหนึ่ง ในสามโดยวิธีจับสลาก
ในกรณีที่มีการแต่งตั้งประธานกรรมการ หรือกรรมการแทนประธาน กรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตาม
มาตรา
39
(1) (2) (3) (5) (6) หรือ(7) ให้ได้รับแต่งตั้งแทนนั้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลือ อยู่ของประธานกรรมการกรรมการซึ่งตนแทน
ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
มาตรา
39 นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระตาม
มาตรา
38
ประธาน กรรมการ หรือกรรมการพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) รัฐมนตรีให้ออก
(4) พ้นจากตำแหน่งโดยการจับสลากตาม
มาตรา
38
วรรคหนึ่ง
(5) เป็นบุคคลล้มละลาย
(6) เป็นคนไร้สามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ หรือ
(7) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
มาตรา
40 การประชุมของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ต้องมีกรรมการ มาประชุมไม่น้อยกว่าห้าคนและต้องมีกรรมการซึ่งเป็นฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูก จ้างอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคน จึงจะเป็นองค์ประชุม แต่ถ้าเป็นการประชุมเพื่อ พิจารณาวินิจฉัยข้อพิพาทแรงงานตาม
มาตรา
23
มาตรา
24
หรือ
มาตรา
35
(4) ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด และต้องมีกรรมการ ซึ่งเป็นฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่ง คน จึงจะเป็นองค์ประชุม
ถ้าในการประชุมคราวใดประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม หรือไม่ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการด้วยกันคนหนึ่ง เป็นประธานในที่ประชุม
มติของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการตนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการ ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีก เสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
มาตรา
41 ให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(1) วินิจภัยข้อพิพาทแรงงานตาม
มาตรา
23
(2) ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานตาม
มาตรา
24
หรือ
มาตรา
35
(4)
(3) ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานตามที่ได้รับแต่งตั้งหรือมอบหมาย
(4) วินิจฉัยชี้ขาดคำร้องตาม
มาตรา
125
และในกรณีที่คณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ์ชี้ขาดว่าเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม ให้มีอำนาจสั่งให้ นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าทำงานหรือให้จ่ายค่าเสียหาย หรือให้ผู้ฝ่าฝืนปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งได้ตามที่เห็นสมควร
(5) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการเรียกร้อง การเจรจา การระงับข้อ พิพาทแรงงาน การนัดหยุดงานและการปิดงาน ตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย
(6) ตราข้อบังคับการประชุม และวางระเบียบการพิจารณาวินิจฉัยและ ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน และการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดการกระทำอันไม่เป็น ธรรม และการออกคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์
มาตรา
42 คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ มีอำนาจแต่งตั้งคณะ อนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์เพื่อหาข้อเท็จจริง และเสนอความเห็นในเรื่องที่ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ มอบหมายเป็นการประจำหรือเฉพาะคราวได้
มาตรา
43 ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ ให้กรรมการแรงงานสัมพันธ์ หรืออนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์มีอำนาจ ดังต่อไปนี้
(1) เข้าไปในสถานที่ทำงานของนายจ้าง สถานที่ที่ลูกจ้างทำงานอยู่ หรือสำนักงานของสมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์นายจ้าง หรือ สหพันธ์แรงงานในระหว่างเวลาทำการเพื่อสอบถามข้อเท็จจริงหรือตรวจสอบ เอกสารได้ตามความจำเป็น
(2) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลมาให้ถ้อยคำหรือให้ส่งสิ่งของหรือ เอกสารที่เกี่ยวข้องมา เพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการแรงงาน สัมพันธ์หรือคณะอนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์
ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องอำนวยความสะดวก ตอบหนังสือสอบถาม ชี้แจงข้อเท็จ จริง หรือส่งสิ่งของ หรือเอกสารที่เกี่ยวข้องแก่กรรมการแรงงานสัมพันธ์หรือ อนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์ดังกล่าวในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง
มาตรา
44 กรรมการแรงงานสัมพันธ์หรืออนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์ จะมีหนังสือเชิญผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิมาแสดงความคิดเห็น ในเรื่องที่ เกี่ยวข้องก็ได้
มาแรงรอบสัปดาห์
อัพเดทล่าสุด
วิธีรับมือแผ่นดินไหว ควรทำอย่างไร มีข้อห้ามอะไรบ้าง
ข้อปฏิบัติตัวเมื่อเกิดแผ่นดินไหวเบื้องต้น ควรทำอย่างไรให้ออกมาจากสถานที่นั้นอย่างปลอดภัย และข้อห้ามต่างๆ ที่ไม่ควรทำเพื่อความปลอดภัย
เปิดวิธีปฏิบัติ หลังเกิดแผ่นดินไหว ควรทำตัวอย่างไร เช็กอะไรบ้าง?
จากกรณีเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.7 ที่ประเทศเมียนมา เมื่อเวลาประมาณ 13.20 น. วันนี้ (28 มี.ค. 2568) แรงสั่นสะเทือนรับรู้ได้ถึงประเทศไทยในหลายจังหวัดรวมถึงกรุงเทพมหานคร
3 อาชีพนี้ มีโอกาสเลี้ยงลูกให้ประสบความสำเร็จได้"มากกว่า"
ในทุกยุคสมัยปรากฏการณ์หนึ่งที่ยังคงสังเกตเห็นอยู่เสมอ นั่นคือ อาชีพของพ่อแม่มีแนวโน้มที่จะถูก “สืบทอด” มาจากรุ่นต่อรุ่น พูดอย่างง่ายๆ ก็คือ หากพ่อแม่ทำงานในสายอาชีพใดอาชีพหนึ่ง ลูกของพวกเขาก็มีแนวโน้มที่จะประกอบอาชีพที่คล้ายกันเมื่อเติบโตขึ้น
เคล็ดลับ "ใส่เกลือในตู้เย็น" ที่ไม่ได้ช่วยแค่เรื่องกลิ่นเท่านั้น
เกลือไม่เพียงแต่เป็นส่วนผสมที่คุ้นเคยในห้องครัว เพื่อช่วยเพิ่มรสชาติให้กับอาหารเท่านั้น และยังมีคุณประโยชน์ที่น่าแปลกใจอีกมากมายที่หลายคนอาจไม่รู้มาก่อน
ทำไม "สมการออยเลอร์" จึงได้ชื่อว่า "สวยงามที่สุด" ในคณิตศาสตร์?
พาไปรู้จักกับสมการที่ถือว่ามีความงดงามที่สุดในคณิตศาสตร์คือ สมการออยเลอร์ (Euler's identity) ของ เลออนฮาร์ต ออยเลอร์ นักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ชาวสวิส และบุคคลแรกที่เริ่มใช้คำว่า "ฟังก์ชัน"
ความหมายของ “つづく” หลังการ์ตูนญี่ปุ่นจบคืออะไร? ออกเสียงอย่างไร?
หากคุณเป็นแฟนการ์ตูนญี่ปุ่น หรือชื่นชอบดูอนิเมะเป็นประจำ คุณอาจเคยเห็นคำว่า "つづく" (สึซุคุ tsuzuku) ปรากฏขึ้นบนหน้าจอหลังจากตอนจบของเรื่อง
"โอเลี้ยง" นับเป็น "กาแฟดำ" หรือ "อเมริกาโน" หรือไม่? แล้ว "โอเลี้ยงยกล้อ" คืออะไร?
โอเลี้ยงมีความคล้ายคลึงกับ "กาแฟดำ" หรือ "อเมริกาโน" ในแง่ของการไม่เติมนมหรือครีม อย่างไรก็ตาม
5 วิธีแก้ปัญหาผมร่วงง่ายๆ ไม่อันตราย แถมลดร่วงได้จริง
ถ้าสาวๆ กำลังประสบปัญหาผมร่วง จนกลายเป็นคนผมบาง ข้อแนะนำเทคนิคดี ๆ มาแชร์เพื่อแก้ปัญหา ต่อสู้กับผมร่วงและลดอาการผมบาง
ฮารีรายอ ความสุขของชาวมุสลิม
ฮารีรายอ เป็นวันสำคัญของชาวมุสลิมทั่วโลกวันหนึ่ง ถือได้ว่าเป็นวันรื่นเริงประจำปีซึ่งชาวมุสลิมได้เดินทางกลับภูมิลำเนาของตนเอง เพื่อเข้าร่วมประกอบพิธีกรรมทางศาสนาโดยพร้อมเพรียงกัน
แฟชั่นปลอดภัยสไตล์มุสลิม การแต่งกายตามหลักศาสนา
เมื่อพูดถึงแฟชั่น ทุก ๆ คนเข้าใจกันดีว่าคือการแต่งกาย การแต่งตัวอย่างไรให้เข้ากับสถานที่ เวลา และโอากกาศต่าง ๆ ซึ่งการแต่งกายที่ถูกตามกาลเทศะจะทำให้เราดูดีขึ้นและเพิ่มความมั่นใจให้แก่เราทุก ๆ คนมากขึ้น ไม่เขิลอายเมื่อพบเจอผู้คนมากมาย
7 ดุอาอฺ ที่จะช่วยส่งเสริมคุณ ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
ในเส้นทางชีวิต ความสำเร็จมักเกิดขึ้นกับผู้ที่สงบนิ่งและสม่ำเสมอในการพยายามและปฏิบัติธรรม สำหรับชาวมุสลิมหลายๆ คน ดุอาอฺ (การขอพร) ถือเป็นรากฐานของชีวิตประจำวัน
54 วิธี แสดงความปรารถนาดี เพื่อสามีสุดที่รัก
54 วิธี ที่ภรรยา จะแสดงความรัก และความปรารถนาดี เพื่อสามีสุดที่รัก
ลองแล้ว "กินกล้วยทุกวัน" สู้มะเร็งลำไส้ เผยผลลัพธ์ผ่านไป 7 เดือน แทบช็อก!
หนุ่มเชื่อ เพื่อนบ้านแนะนำ "กินกล้วยทุกวัน" จะทำให้ขับถ่ายง่ายขึ้นมาก อาจรักษามะเร็งลำไส้ได้ ผ่านไป 7 เดือน ผลตรวจล่าสุด ทำหมอกุมขมับ
ข้าวเหนียวมะม่วง กับเหตุผลง่าย ๆ ที่ต่างชาติชื่นชอบ
ข้าวเหนียวมะม่วง เมนูของหวานยอดนิยมของไทย ที่ครองใจชาวต่างชาติ ข้าวเหนียวมะม่วงมีต้นกำเนิดจากวัฒนธรรมการกินข้าวเหนียวร่วมกับผลไม้ตามฤดูกาล
วิตามินดีๆ (D) ที่คุณอาจไม่เคยรู้ ?
“วิตามินดี” เป็นวิตามินที่มีความสำคัญต่อร่างกาย ช่วยทำให้แคลเซียมที่รับประทานเข้าไปสามารถดูดซึมจากสำไส้ได้ดียิ่งขึ้น ช่วยเสริมสร้างให้กระดูกและกล้ามเนื้อแข็งแรง
"การบูร-พิมเสน" ภัยเงียบใกล้ตัว
ผู้ใช้ยาดมส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุ ปัจจุบันยาดมสมัยใหม่มีการปรับปรุงให้มีความทันสมัย เป็นที่เตะตาของคนยุคใหม่
เชื่อหรือไม่ ? การนอนที่ดีจะทำให้คุณรวยขึ้นได้
ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ ว่าเรื่อง การนอนกับการกินนั้นเกี่ยวข้องกัน ซึ่ง การกินและการเสียเงิน ก็เกี่ยวข้องกันอย่างยากจะปฏิเสธ ในยุคที่คนส่วนใหญ่ต้องใช้เงิน เพื่อซื้อหาอาหาร
เมื่อเกิดไฟไหม้ในที่อยู่อาศัยควรทำอย่างไร? สิ่งแรกที่ต้องทำคือ?
เมื่อเกิดเพลิงไหม้ในที่อยู่อาศัย เพื่อความปลอดภัยของตัวเองและคนรอบข้าง ก่อนจะพยายามดับไฟเบื้องต้น ต้องสังเกตสิ่งต่อไปนี้
8 ท่านอนแนะนำ นอนท่านี้แล้วดี เลี่ยงเจ็บป่วย ร่างกายแข็งแรง
คุณเคยพิจารณาถึง ความสำคัญของท่าทางการนอนที่ดีหรือไม่? แม้ว่าคุณอาจจะมีหรือไม่มีท่าทาง ที่คุณชอบเป็นการส่วนตัว แต่ท่าทางการนอนก็ส่งผลต่อสุขภาพของคุณ รวมถึงคุณภาพการนอนหลับของคุณด้วย
รู้ไว้ใช่ว่า ความสะอาดที่แท้จริง เป็นยังไง ?
ความสะอาด ( اَلطَّهَارَةُ ) ความสะอาดและปราศจากสิ่งสกปรก ซึ่งจะต้องทำความสะอาดโดยน้ำ เป็นหลักการสำคัญในศาสนาอิสลาม เป็นครึ่งหนึ่งของการศรัทธา
5 สิ่งควรรู้ก่อนไปเที่ยวประเทศมุสลิม
อีกหนึ่งจุดหมายปลายทางยอดฮิต ของนักท่องเที่ยวไทยในตอนนี้ คงหนีไม่พ้น ดินแดนแถบตะวันออกกลาง อย่างประเทศอิหร่าน อียิปต์ ตุรกี
"รถไฟเล็กไร้คนขับ" โลจิสติกลดต้นทุนในฟาร์ม (คลิป)
"รถไฟเล็กไร้คนขับ" เป็นยานพาหนะขนส่งรางเดียว วิ่งด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า ใช้งานในที่แคบ ขรุขระ บรรทุกสินค้าได้ เที่ยวละ 200 กิโลกรัม สามารถขนส่งผัก ปุ๋ย และอุปกรณ์ทางการเกษตรอื่นๆ ในสภาพพื้นที่ที่เป็นภูเขา ที่ลาดชัน
สายกินต้องรู้! เทคนิคนับคาร์บ กินเป็นลดเสี่ยงโรค
"คาร์บ" ก็คือ คาร์โบไฮเดรต เป็นแหล่งพลังงานหลักของร่างกาย ซึ่งตั้งแต่เด็กเราคงเคยเรียนกันมาแล้ว ว่า คาร์โบไฮเดรต อยู่ในอาหารหลัก 5 หมู่
6 ผลไม้เพื่อคนรักสุขภาพ น้ำตาลน้อย ไฟเบอร์สูง ช่วยหุ่นสวย สุขภาพดีระยะยาว
การเลือกทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ถือเป็นเรื่องสำคัญที่สาว ๆ ทุกคนต้องใส่ใจ โดยเฉพาะเรื่องผลไม้ที่มีทั้งรสชาติอร่อยและประโยชน์มากมาย
ต้นหอม คือ ยาอายุวัฒนะ รู้หรือเปล่า?
ต้นหอม หรือที่เรียกอีกอย่างว่า กุ้ยช่าย (Allium Schoenoprasum) เป็นพืชที่มีกลิ่นหอม ที่ช่วยควบคุมความดันโลหิต ส่งเสริมการลดน้ำหนัก
7 กลุ่มของมุอฺมิน ที่ได้รับร่มเงาจากอัลลอฮ์ (ซบ.ฯ)
ไม่มีคุณค่าใด ไม่มีสิ่งใดซึ่งยิ่งใหญ่ ไม่มีเมตตาใดที่มีเกียรติมหาศาลไปกว่า การที่เราได้ถูกบังเกิด มาเพื่อทำอิบาดะฮ์ต่ออัลลอฮ์
วิถีอิสลาม ความเรียบง่ายแห่งการใช้ชีวิต
อิสลาม เป็นศาสนาที่บอกถึง วิธีการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของมนุษย์มากที่สุด ไม่ว่าจะในแง่ของการดำรงชีพ การแสวงหาปัจจัยยังชีพ
โอกาสพิเศษแห่งการตอบรับคำวิงวอน (ดุอาอ์)
เดือนรอมฎอนอันจำเริญ เป็นเดือนแห่งการวิงวอนขอ (ดุอาอ์) และการภาวนา (ละหมาด) ต่อพระผู้เป็นเจ้า เป็นเดือนที่ผู้ศรัทธา ใกล้ชิดพระผู้เป็นเจ้ามากกว่า
ความพิเศษ 12 ประการ ของเดือนรอมฎอน
เดือนรอมฎอน เป็นเดือนหนึ่งในปฏิทินของอาหรับ จาก 12 เดือน ซึ่งถือเป็นเดือนที่มีความสำคัญ มีความประเสริฐ และมีความพิเศษมากที่สุด ในบรรดาเดือนทั้งหลาย
ฟิดยะฮฺ กัฟฟาเราะฮฺ ใครต้องจ่าย?
เดือนรอมฎอนอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นเดือนที่เปิดโอกาสให้ มุสลิมทุกคนได้ทำความดี ซึ่งมีผลตอบแทนที่ทวีคูณ การถือศีลอด เป็นหนึ่งในเสาหลักที่ถือเป็นวาญิบ และการละเว้นการปฏิบัติ ย่อมต้องมีการ ชดใช้ หรือการทดแทน
กียามุลลัยลฺ การละหมาดยามค่ำคืน
ท่านนบี ไม่เคยละทิ้งการละหมาดในยามค่ำคืน (กิยามุลลัยลฺ) ไม่ว่าท่านจะพำนักอยู่ในถิ่นอาศัยหรืออยู่ระหว่างการเดินทาง คืนใดที่ท่านเผลอหลับลึกไม่ทันตื่น หรือเจ็บป่วยไม่สบาย ท่านก็จะละหมาดในเวลากลางวัน จำนวนสิบสองร็อกอัต เป็นการทดแทน
การเห็นพระจันทร์ หรือวันสิ้นเดือนซะบาน ? จึงยืนยันการเริ่มต้นรอมฎอน
คำแนะนำที่แท้จริง เกี่ยวกับการเห็นดวงจันทร์ สำหรับเดือนรอมฎอนอันเป็นสิริมงคล ที่อัลลอฮ์ได้ประทานพร แก่ผู้รับใช้ที่จริงใจของพระองค์ ตามคัมภีร์ และซุนนะห์