พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533 บทนิยาม มาตรา 1-7


961 ผู้ชม


พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2533 เป็นปีที่ 45 ในรัชกาลปัจจุบัน
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า "พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533"
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่บทบัญญัติหมวด 2 ของลักษณะ 2 ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดระยะเวลา หนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและบทบัญญัติ มาตรา 40 ให้ใช้บังคับ ภายในสี่ปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
[รก.2533/161/1พ/1 กันยายน 2533]
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7
มาตรา 3 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2497
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราช ฃบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7
มาตรา 4 พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 (1) ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราวรายวัน และลูกจ้างชั่วคราวราย ชั่วโมง ของราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น ยกเว้นลูกจ้างชั่วคราว รายเดือน
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 (2) ลูกจ้างของรัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 (3) ลูกจ้างของนายจ้างที่มีสำนักงานในประเทศ และไปประจำทำงานใน ต่างประเทศ
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 (4) ครูหรือครูใหญ่ของโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 (5) นักเรียน นักเรียนพยาบาล นิสิตหรือนักศึกษา หรือแพทย์ฝึกหัด ซึ่งเป็นลูกจ้าง ของโรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือโรงพยาบาล
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 (6) กิจการหรือลูกจ้างอื่นตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
[ความใน (1) ของ มาตรา 4 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537]
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7
มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "ลูกจ้าง" หมายความว่า ผู้ซึ่งทำงานให้นายจ้างโดยรับค่าจ้างไม่ว่าจะเรียกชื่อ อย่างไร แต่ไม่รวมถึงลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับงานบ้าน อันมิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "นายจ้าง" หมายความว่า ผู้ซึ่งรับลูกจ้างเข้าทำงานโดยจ่ายค่าจ้าง และให้หมาย ความรวมถึงผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ทำงานแทนนายจ้าง ในกรณีที่นายจ้างเป็นนิติบุคคลให้ หมายความรวมถึงผู้มีอำนาจกระทำการแทนนิติบุคคล และผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้มีอำนาจ กระทำการแทนนิติบุคคลให้ทำการแทนด้วย
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "ค่าจ้าง" หมายความว่า เงินทุกประเภทที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นค่าตอบแทน การทำงานในวันและเวลาทำงานปกติไม่ว่าจะคำนวณตามระยะเวลาหรือคำนวณตามผลงานที่ ลูกจ้างทำได้ และให้หมายความรวมถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้ในวันหยุดและวันลาซึ่งลูกจ้างไม่ได้ ทำงานด้วย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะกำหนดคำนวณหรือจ่ายในลักษณะใดหรือโดยวิธีการใด และไม่ว่าจะ เรียกชื่ออย่างไร
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "วันทำงาน" หมายความว่า วันที่กำหนดให้ลูกจ้างทำงานตามปกติ
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "ผู้ประกันตน" หมายความว่า ผู้ซึ่งจ่ายเงินสมทบอันก่อให้เกิดสิทธิได้รับประโยชน์ ทดแทนตามพระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "การคลอดบุตร" หมายความว่า การที่ทารกออกจากครรภ์มารดา ซึ่งมีระยะเวลา ตั้งครรภ์ไม่น้อยกว่ายี่สิบแปดสัปดาห์ไม่ว่าทารกจะมีชีวิตรอดอยู่หรือไม่
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "ทุพพลภาพ" หมายความว่า การสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะ หรือของร่างกาย หรือสูญเสียสภาวะปกติของจิตใจ จนไม่สามารถทำงานได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการการแพทย์กำหนด
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "ว่างงาน" หมายความว่า การที่ผู้ประกันตนต้องหยุดงานเนื่องจากนิติสัมพันธ์ ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างตามสัญญาจ้างแรงงานสิ้นสุดลง
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "กองทุน" หมายความว่า กองทุนประกันสังคม
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "สำนักงาน" หมายความว่า สำนักงานประกันสังคม"คณะกรรมการ" หมายความว่า คณะกรรมการประกันสังคม
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "กรรมการ" หมายความว่า กรรมการประกันสังคม
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "พนักงานเจ้าหน้าที่" หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "เลขาธิการ" หมายความว่า เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 "รัฐมนตรี" หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7
มาตรา 6 ในการคำนวณค่าจ้างเพื่อการออกเงินสมทบ ให้ถือเอาค่าจ้างที่คิดเป็น รายเดือนเป็นเกณฑ์คำนวณ
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 ในการคำนวณค่าจ้างที่มิใช่ค่าจ้างรายเดือนให้เป็นค่าจ้างรายเดือนให้ถือว่าค่าจ้าง ที่ลูกจ้างได้รับจริงในเดือนใดเป็นค่าจ้างรายเดือนของเดือนนั้น
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 เพื่อประโยชน์ในการนับระยะเวลาการส่งเงินสมทบของผู้ประกันตนให้ถือว่าเงิน สมทบที่หักจากค่าจ้างที่จ่ายให้ลูกจ้างในเดือนใดเป็นการจ่ายเงินสมทบของเดือนนั้น และไม่ว่าเงิน สมทบนั้นจะได้หักไว้หรือนำส่งเดือนละกี่ครั้ง ให้ถือว่ามีระยะเวลาในการจ่ายเงินสมทบเท่ากับ หนึ่งเดือน
[ มาตรา 6 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537]
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7
มาตรา 7 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราใน บัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ ยกเว้นค่าธรรมเนียมและกำหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราช บัญญัตินี้
พระราชบัญญัติ ประกันสังคม พ.ศ. 2533  บทนิยาม มาตรา 1-7 กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้

อัพเดทล่าสุด