หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร


624 ผู้ชม


หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร
มาตรา 65 ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตรสำหรับ ตนเองหรือภริยา หรือสำหรับหญิงซึ่งอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยากับผู้ประกันตนโดยเปิดเผยตาม ระเบียบที่เลขาธิการกำหนดถ้าผู้ประกันตนไม่มีภริยา ทั้งนี้ ต่อเมื่อภายในระยะเวลาสิบห้าเดือนก่อน วันรับบริการทางการแพทย์ผู้ประกันตนได้จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่าเจ็ดเดือน
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร ให้ผู้ประกันตนแต่ละคนมีสิทธิได้รับสำหรับ การคลอดบุตรไม่เกินสองครั้ง
[ มาตรา 65 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537]
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร
มาตรา 66 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร ได้แก่
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร (1) ค่าตรวจและรับฝากครรภ์
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร (2) ค่าบำบัดทางการแพทย์
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร (3) ค่ายาและค่าเวชภัณฑ์
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร (4) ค่าทำคลอด
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร (5) ค่ากินอยู่และรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร (6) ค่าบริบาลและค่ารักษาพยาบาลทารกแรกเกิด
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร (7) ค่ารถพยาบาลหรือค่าพาหนะรับส่งผู้ป่วย
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร (8) ค่าบริการอื่นที่จำเป็น
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่คณะกรรมการการแพทย์กำหนดโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการ
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร ผู้ประกันตนซึ่งต้องหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรให้ได้รับเงินสงเคราะห์การหยุด งานเพื่อการคลอดบุตรตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ใน มาตรา
67 ด้วย
[ความในวรรคสามของ มาตรา 66 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537]
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร
มาตรา 67 ในกรณีที่ผู้ประกันตนต้องหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรให้ผู้ประกันตน มีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรไม่เกินสองครั้ง เป็นการเหมาจ่ายในอัตรา ครั้งละร้อยละห้าสิบของค่าจ้างตาม มาตรา 57 เป็นเวลาเก้าสิบวัน
[ มาตรา 67 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537]
หมวด 3 ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร
มาตรา 68 ในกรณีที่ผู้ประกันตนหรือคู่สมรสของผู้ประกันตนไม่สามารถรับ ประโยชน์ทดแทนตาม มาตรา 66 ได้ เนื่องจากผู้ประกันตนหรือคู่สมรสของผู้ประกันตนไม่ได้ คลอดบุตรในสถานพยาบาลตาม มาตรา 59 ให้ผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทนการคลอดบุตร ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่คณะกรรมการการแพทย์กำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

อัพเดทล่าสุด