ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102


756 ผู้ชม


:: พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
:: ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 92 ผู้ใดไม่ให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสาร หลักฐาน หรือข้อมูลที่จำเป็นตาม คำสั่งของคณะกรรมการ คณะกรรมการการแพทย์ คณะกรรมการอุทธรณ์ คณะอนุกรรมการ หรือ พนักงานเจ้าหน้าที่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 93 ผู้ใดโดยเจตนาไม่กรอกรายการในแบบสำรวจ กรอกรายการในแบบ สำรวจไม่ครบถ้วน หรือไม่ส่งแบบสำรวจคืนภายในเวลาที่กำหนดต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 94 ผู้ใดกรอกข้อความหรือตัวเลขในแบบสำรวจโดยรู้อยู่ว่าเป็นเท็จ ต้อง ระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 95 ผู้ใดฝ่าฝืน มาตรา 32 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับ ไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 96 นายจ้างผู้ใดโดยเจตนาไม่ยื่นแบบรายการต่อสำนักงาน ภายในกำหนด เวลาตาม มาตรา 34 หรือไม่แจ้งเป็นหนังสือต่อสำนักงานขอเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขเพิ่มเติมรายการ ภายในกำหนดเวลาตาม มาตรา 44 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102 ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดต่อเนื่อง ผู้กระทำต้องระวางโทษ ปรับอีกวันละไม่เกินห้าพันบาทตลอดระยะเวลาที่ยังฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
[ความในวรรคหนึ่งของ มาตรา 96 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537]
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 97 นายจ้างผู้ใดยื่นแบบรายการตาม มาตรา 34 หรือแจ้งเป็นหนังสือขอ เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขเพิ่มเติมรายการตาม มาตรา 44 โดยเจตนากรอกข้อความเป็นเท็จในแบบ รายการ หรือแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงเป็นเท็จในหนังสือแจ้งขอเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไข เพิ่มเติม ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
[ มาตรา 97 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537]
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 98 ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงาน เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการตาม มาตรา 80 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 99 นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม มาตรา 84 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน หนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 100 ผู้ใดเปิดเผยข้อเท็จจริงใดเกี่ยวกับกิจการของนายจ้างอันเป็นข้อ เท็จจริงที่ตามปกติวิสัยของนายจ้างจะพึงสงวนไว้ไม่เปิดเผยซึ่งตนได้มาหรือล่วงรู้เนื่องจากการ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสามพัน บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เว้นแต่เป็นการเปิดเผยในการปฏิบัติราชการเพื่อประโยชน์แห่งพระราช บัญญัตินี้ หรือเพื่อประโยชน์แก่การคุ้มครองแรงงาน หรือการสอบสวนหรือการพิจารณาคดี
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 101 ในกรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้กระทำความผิดและถูกลงโทษตามพระราช บัญญัตินี้ ให้ถือว่าผู้แทนของนิติบุคคล กรรมการทุกคน และผู้รับผิดชอบในการดำเนินการของ นิติบุคคลนั้น ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับนิติบุคคลนั้นด้วย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้รู้เห็นเป็น ใจในการกระทำความผิดนั้น หรือได้จัดการตามสมควรเพื่อป้องกันมิให้เกิดความผิดนั้นแล้ว
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102
มาตรา 102 ถ้าเจ้าพนักงานดังต่อไปนี้เห็นว่าผู้กระทำผิดไม่ควรได้รับโทษถึง จำคุกหรือไม่ควรถูกฟ้องร้อง สำหรับความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว หรือความผิดที่มีโทษปรับ หรือโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน เว้นแต่โทษตาม มาตรา 95 ให้มีอำนาจเปรียบเทียบดังนี้
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102 (1) เลขาธิการหรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมาย สำหรับความผิดที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102 (2) ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย สำหรับความผิดที่ เกิดขึ้นในจังหวัดอื่น
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102 ในกรณีที่มีการสอบสวน ถ้าพนักงานสอบสวนพบว่าบุคคลใดกระทำความผิด ตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษอยู่ในเกณฑ์ที่จะทำการเปรียบเทียบได้และบุคคลนั้นยินยอมให้ เปรียบเทียบ ให้พนักงานสอบสวนส่งเรื่องให้เลขาธิการ หรือผู้ว่าราชการจังหวัดแล้วแต่กรณีภายใน เจ็ดวันนับแต่วันที่บุคคลนั้นแสดงความยินยอมให้เปรียบเทียบ
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102 เมื่อผู้กระทำผิดได้ชำระเงินค่าปรับตามจำนวนที่เปรียบเทียบภายในสามสิบวันแล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ลักษณะ 6 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตราที่ 92-102 ถ้าผู้กระทำผิดไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้วไม่ชำระเงินค่าปรับ ภายในกำหนดเวลาตามวรรคสาม ให้ดำเนินคดีต่อไป

อัพเดทล่าสุด