มผช
. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่สากล โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือ
OTOP ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในนโยบายของรัฐบาลที่ประสบ ความสำเร็จมากที่สุดอีกโครงการหนึ่ง แม้กระทั่งประเทศญี่ปุ่นซึ่งเป็นต้นแบบของโครงการนี้ยังยอมรับ ในความสำเร็จของประเทศไทย จนถึงขณะนี้หลายประเทศในภูมิภาคได้ให้ความสนใจที่จะนำแนวคิด
OTOP
ไปใช้ในประเทศของตนและเดินทางเข้ามาศึกษาแนวทางการทำงานจากประเทศไทย ย้อนกลับไปในปี พ
.ศ. 2546 “สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม” (สมอ.) ได้รับมอบ หมายให้ดำเนินการ
“โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน” หรือ มผช. ขึ้นเพื่อสนับสนุนการผลิตผลิต ภัณฑ์ชุมชนให้ได้มาตรฐาน และให้รับการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์โดยแสดงเครื่องหมาย มผช
. เพื่อ เป็นหลักประกันแก่ผู้บริโภค ตลอดจนเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยเชื่อมโยงต่อยอดผลิตภัณฑ์ชุมชน สู่ตลาดผู้ บริโภคอย่างกว้างขวางทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งแนวทางการดำเนินงานโครงการมาตรฐานผลิต ภัณฑ์ชุมชน
(มผช.) ที่ สมอ. ดำเนินงานอยู่นั้นแบ่งออกเป็น 4 ด้านดังนี้
•
ด้านการกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน สมอ. ได้จัดทำข้อกำหนดที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ชุมชนและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งที่ผ่านมา สมอ •
ด้านการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน สมอ. ให้การรับรองแก่ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการอนุญาต ให้แสดงเครื่องหมาย มผช •
ด้านการพัฒนาผู้ผลิตชุมชน ในกรณีที่ผู้ผลิตชุมชนไม่สามารถทำผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพเป็นไปตาม มาตรฐาน สมอ •
ด้านการส่งเสริมประชาสัมพันธ์ สมอ.ได้สร้างกระแสการรับรู้ต่อเครื่องหมาย มผช. จนเกิดการรับรู้ ในวงกว้างก่อให้เกิดความตระหนักในเรื่องมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนแก่ทุกฝ่าย พร้อมทั้งสร้างแรงจูงใจเสริมภาพลักษณ์ให้ ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้การยอมรับว่าเป็นสินค้าคุณภาพเทียบเท่าสินค้าแบรนด์เนมทั้งหลาย ณ วั น นี้ สํ
“ า นั ก ง า น ม า ต ร ฐ า น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
” ห รื อ ส ม อ . ยั ง ค ง มุ่ ง มั่ น เ ดิ น ห น้า จั ด ทํ า โ ค ร ง ก า ร ม า ต ร ฐ า น ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ชุม ช น ใ ห้พัฒ น า แ ล ะ ก้า ว ไ ป อ ย่ า ง ต่อ เ นื่อ ง ทั้ง ใ น ด้า น ข้อ กํ า ห น ด คุณ ภ า พ แ ล ะ ก า ร พัฒ น า ศัก ย ภ า พ ข อ ง ผู้ ผ ลิ ต ชุม ช น เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บ ใ ห้ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ช น จ า ก ภู มิ ปัญ ญ า ไ ท ย ก้ า ว ขึ้ น สู่ ต ล า ด ส า ก ล ไ ด้อ ย่า ง น่า ภ า ค ภูมิใ จ
.จะส่งผู้เชี่ยวชาญเข้าไปช่วยเหลือให้คำปรึกษาแนะนำถึงสถานที่ผลิตจริง จนมีขีดความสามารถ มีความพร้อมในการขอรับรอง มผช
. ที่ผ่านมา สมอ.ได้พัฒนาผู้ผลิตชุมชนหลายกลุ่ม ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ผ้า ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป สุรากลั่นชุมชน สาโท ไวน์ผลไม้ และผ้าทอพื้นเมือง ซึ่งกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ของประเทศไทย
. โดยมีผู้ผลิตชุมชนได้รับการรับรองแล้วจำนวน 12,849 ราย
. ได้จัดสัมมนาเพื่อจัดทำข้อกำหนดมาตร ฐานและได้จัดทำมาตรฐานแล้วถึง
1,124 เรื่อง