ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!!


867 ผู้ชม


 ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!!
 ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!! ทริปของหมูหิน  ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!!
 

พักผ่อน เล่นกอล์ฟ บนพื้นที่ประวัติศาสตร์พระนารายณ์
พักผ่อน เล่นกอล์ฟ บนพื้นที่ประวัติศาสตร์พระนารายณ์

เรือนเเรมในเเดนทานตะวัน กับภัทรประภารีสอร์ท
เรือนเเรมในเเดนทานตะวัน กับภัทรประภารีสอร์ท

ครัวกุ้งหลวง กุ้งเผาบาทเดียว
ครัวกุ้งหลวง กุ้งเผาบาทเดียว

ล่าปลา ที่เขื่อนป่าสัก
ตามหาปลาในลุ่มน้ำป่าสัก


พระปรางค์สามยอด
ลิงเฝ้าศาลพระกาฬมาจากไหน

แกะรอยคนโบราณ เจ็ดศอก สมัยพุทธกาล
แกะรอยคนโบราณ เจ็ดศอก สมัยพุทธกาล


Thailand Photo สนามที่ 3 จังหวัดลพบุรี


เทศกาลชมวัง ฟังดนตรี 2553 ณ เมืองลพบุรี



เทศกาลโต๊ะจีนลิง ลพบุรี


ชมพิพิธภัณฑ์อนุสรณ์สถาน จอมพล ป.


พิพิธภัณฑ์พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา

 

รวมทริปทั้งหมด
 
 ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!!
 ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!!

               ลพบุรีเป็นเมืองแห่งความหลากหลายและต่อเนื่องทางวัฒนธรรมยาวนานกว่า 3,000 ปี ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงปัจจุบัน ค้นพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์มากที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ ตั้งแต่สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ 11-16) ลพบุรีอยู่ใต้อำนาจมอญและขอมจนกระทั่งในตอนต้นของพุทธศตวรรษที่ 19 คนไทยจึงเริ่มมีอำนาจขึ้นในดินแดนแถบนี้ ในรัชสมัยของพระเจ้าอู่ทองปฐมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ลพบุรีมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวง กล่าวคือพระเจ้าอู่ทองได้โปรดให้พระราเมศวร ราชโอรสองค์ใหญ่เสด็จมาครองเมืองลพบุรี เมื่อ พ.ศ. 1893 พระราเมศวรโปรดให้สร้างป้อม ขุดคู และสร้างกำแพงเมืองอย่างมั่นคง เมื่อพระเจ้าอู่ทองสวรรคตใน พ.ศ. 1912 พระราเมศวรต้องถวายราชบัลลังก์ให้แก่พระปิตุลาของพระองค์ ซึ่งได้ขึ้นครองราชย์พระนามว่า พระบรมราชาธิราชที่ 1 ส่วนพระราเมศวรครองเมืองลพบุรีสืบต่อไป จนถึง พ.ศ. 1931 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 สวรรคต พระราเมศวรจึงเสด็จขึ้นครองราชย์ ณ กรุงศรีอยุธยาเป็นครั้งที่สอง

หลังจากนั้นมาเมืองลพบุรีได้ลดความสำคัญลงไป จนกระทั่งมาถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2199-2231) ลพบุรีได้รับการทำนุบำรุงครั้งใหญ่ สืบเนื่องมาจากการคุกคามของชนชาติฮอลันดาที่ติดต่อค้าขายกับไทย ทำให้สมเด็จพระนารายณ์ทรงเห็นว่ากรุงศรีอยุธยานั้นไม่สู้ปลอดภัยจากการปิดล้อมระดมยิงของข้าศึกหากเกิดสงคราม จึงได้สร้างเมืองลพบุรีเป็นราชธานีที่สองขึ้น เพราะลพบุรีมีลักษณะทางยุทธศาสตร์เหมาะสม ในการสร้างลพบุรีขึ้นใหม่ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงได้รับความช่วยเหลือจากช่างชาวฝรั่งเศสและอิตาเลียน และได้สร้างพระราชวังและป้อมปราการเป็นแนวป้องกันอย่างแข็งแรง สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ประทับอยู่ที่ลพบุรีเป็นส่วนใหญ่ และโปรดให้ทูตและชาวต่างประเทศเข้าเฝ้าพระองค์ที่เมืองนี้หลายครั้ง

สิ้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ฯ แล้ว ลพบุรีก็หมดความสำคัญลง สมเด็จพระเพทราชาได้ทรงย้ายหน่วยราชการทั้งหมดกลับกรุงศรีอยุธยา ในรัชกาลต่อๆ มา ก็ไม่ได้เสด็จมาประทับที่เมืองนี้อีก จนกระทั่งถึงรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ใน พ.ศ. 2406 โปรดฯ ให้บูรณะเมืองลพบุรี ซ่อมกำแพง ป้อม และประตูพระราชวังที่ชำรุดทรุดโทรม และสร้างพระที่นั่งพิมานมงกุฎขึ้นในพระราชวัง เป็นที่ประทับ และพระราชทานนามว่า “พระนารายณ์ราชนิเวศน์” ลพบุรีจึงแปรสภาพเป็นเมืองสำคัญอีกวาระหนึ่ง

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ลพบุรีได้รับการทำนุบำรุงอีกครั้งหนึ่งในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งได้สร้างเมืองลพบุรีใหม่อันเป็นเมืองทหารอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของทางรถไฟ มีอาณาเขตกว้างขวาง ส่วนเมืองเก่านั้นอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของทางรถไฟ เมืองลพบุรีจึงเป็นศูนย์กลางสำคัญทางยุทธศาสตร์เมืองหนึ่งในปัจจุบันนี้ ลพบุรีอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ 153 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด 6,586.67 ตารางกิโลเมตร

หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
ประชาสัมพันธ์จังหวัดลพบุรี โทร. 0 3642 0333
โรงพยาบาลลพบุรี โทร. 0 3641 1267, 0 3662 1537-46
โรงพยาบาลเบญจรมย์ โทร. 0 3641 3622, 0 3641 2160

โทร. 0 3641 3933
สถานีตำรวจอำเภอเมืองลพบุรี โทร. 0 3641 1013, 0 3642 1189
ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข โทร. 0 3641 1011, 0 3641 1106
ตำรวจทางหลวง โทร. 1193
ตำรวจท่องเที่ยว โทร. 1155

หมูหินขอแนะนำ
ลพบุรี
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซับลังกา
(ลพบุรี)




อำเภอบ้านหมี่
เขาสมอคอน
(ลพบุรี)
วัดธรรมิการามหรือวัดค้างคาว
(ลพบุรี)
วัดเขาวงกต
Wat Khao Wongkhot
(ลพบุรี)
วัดกัทลีพนาราม(วัดบ้านกล้วย)
(ลพบุรี)
วัดไลย์
Wat Lai
(ลพบุรี)
บ้านกล้วย
(ลพบุรี)





อำเภอพัฒนานิคม
ลพบุรี
ทุ่งทานตะวัน
Sunflower Field
(ลพบุรี)

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์




อำเภอเมือง
อ่างเก็บน้ำหรือถังเก็บน้ำประปา
The Water Reservior
(ลพบุรี)
อ่างเก็บน้ำหรือถังเก็บน้ำประปา
(ลพบุรี)
พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนารถ
(ลพบุรี)
หมู่บ้านดินสอพอง
(ลพบุรี)
พระที่นั่งไกรสรสีหราช
Kraison Siharat Hall
(ลพบุรี)
ศาลเจ้าพ่อพระกาฬ
ศาลเจ้าพ่อพระกาฬ

San Phra Kan
(ลพบุรี)
ลพบุรี
พระปรางค์สามยอด
Phra Prang Sam Yot
(ลพบุรี)
วัดมรีชลขัณฑ์
Wat Mani Chonlakhan
(ลพบุรี)
เทวสถานปรางค์แขก
Prang Kaek
(ลพบุรี)
วัดนครโกษา
(ลพบุรี)
วัดสันเปาโล
Wat San Paolo
(ลพบุรี)
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ
(ลพบุรี)
วัดเสาธงทอง
Wat Sao Thong Thong
(ลพบุรี)
บ้านหลวงรับราชทูตหรือบ้านวิชาเยน
Vichayen House
(ลพบุรี)
ลพบุรี
พระนายรายณ์ราชนิเวสน์
Narai Ratchaniwet Palace
(ลพบุรี)
พระที่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาท
Dusit Sawan Thanya Maha Prasat Hall
(ลพบุรี)
พระที่นั่งจันทรพิศาล
Chantara Phisan Pavilion
(ลพบุรี)
พระที่นั่งสุทธาสวรรค์
Suttha Sawan Pavilion
(ลพบุรี)
ตึกรับรองแขกเมือง
Banquet Hall
(ลพบุรี)
ตึกพระเจ้าเหา
Phra Chao Hao Building
(ลพบุรี)
หมู่ตึก 12 ท้องพระคลัง
(ลพบุรี)
โรงช้างหลวง
(ลพบุรี)
หมู่พระที่นั่งพิมานมงกุฎ
(ลพบุรี)
หมู่ตึกพระประเทียบ
(ลพบุรี)
ทิมดาบ
(ลพบุรี)
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์
Somdet Phra Narai National Museum
วัดยาง ณ รังสี
Wat Yang Na Rangsi
(ลพบุรี)
ลพบุรี
พิพิธภัณฑ์เรือพื้นบ้าน
(ลพบุรี)
สวนสัตว์พระแก้วลพบุรี
Lop Buri zoo
(ลพบุรี)
 






อำเภอโคกสำโรง
ลพบุรี
สวนรุขชาติน้ำตกวังก้านเหลือง
Wang Kan Luang Waterfall
(ลพบุรี)
เขาวงพระจันทร์
Wat Khao Wong Phrachan
(ลพบุรี)
น้ำตกแสนดี
(ลพบุรี)
ปรางค์นางผมหอม
(ลพบุรี)


การเดินทาง
รถยนต์ 
1. จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ผ่านจังหวัดสระบุรี อำเภอพระพุทธบาท เข้าสู่จังหวัดลพบุรี ระยะทาง 153 กิโลเมตร
2. จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ซึ่งแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จะมีทางแยกเข้าได้ 3 ทาง คือ
- เข้าทางอำเภอบางปะหัน ผ่านอำเภอนครหลวง เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 3196 ผ่านอำเภอบ้านแพรก เข้าสู่จังหวัดลพบุรี
- เข้าตรงทางแยกต่างระดับจังหวัดอ่างทอง ไปยังอำเภอท่าเรือ แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 3196 ผ่านอำเภอบ้านแพรก เข้าสู่จังหวัดลพบุรี
- ผ่านจังหวัดอ่างทอง สิงห์บุรี แล้วใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 311 (สายสิงห์บุรี-ลพบุรี) ผ่านอำเภอท่าวุ้ง เข้าสู่จังหวัดลพบุรี 
หรือใช้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร, ทางพิเศษอุดรรัถยา สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 1543 

รถโดยสาร 
มีรถโดยสารประจำทางปรับอากาศออกจากสถานีขนส่งหมอชิต 2 ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 05.00-20.30 น. ออกทุกครึ่งชั่วโมง ค่าโดยสารคนละ 80 บาท สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 2936 2852-66 ต่อ 442, 331 หรือ บริษัท ลพบุรีสิงห์ ทรานสปอร์ต จำกัด โทร. 0 2936 3603 หรือที่เว็บไซต์ www.transport.co.th 

รถไฟ
สามารถเดินทางโดยรถไฟสายเหนือ ออกจากสถานีรถไฟหัวลำโพงทุกวันๆ ละหลายเที่ยว สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ หน่วยบริการเดินทางการรถไฟแห่งประเทศไทย โทร. 0 2220 4334, 0 2220 4444, 1690 หรือที่เว็บไซต์ www.railway.co.th 

แผนที่จังหวัดลพบุรี/map of LOPBURI
ลพบุรี
แผนที่ท่องเที่ยว
ลพบุรี
ลพบุรี
แผนที่ท่องเที่ยว
ลพบุรี
ลพบุรี
แผนที่ท่องเที่ยว
ลพบุรี


 ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!!
   
 ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!!

 

 ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!!

 

ลพบุรี/Information of LOPBURI

 

General Information
A province in the central region of Thailand, Lop Buri Province is located approximately 154 kilometers north of Bangkok. Covering an area of 6,199 square kilometers, the province is situated on the western end of the Khorat Plateau. It borders Chaiyaphum and Nakhon Ratchasima Provinces on the east, Phetchabun and Nakhon Sawan Provinces on the north, Sing Buri, Ang Thong, Ayutthaya and Saraburi Provinces on the South. Lop Buri Province is one of several provinces in central Thailand where many significant historical artifacts and prehistoric settlements have been discovered.

Formerly known as “Lawo”, Lop Buri had for centuries been ruled by several Kingdoms. The remains of Lop Buri, dating over 1,200 years attests to the strategic significance of Lop Buri to many rulers. These relics, ranging from the Bronze Age to the Ratanakosin period, have made Lop Buri a blend of east and west and ancient and modern, revealing the city’s turbulent and alluring history and a glimpse of Thailand’s extraordinary past.

The Past
Lop Buri was first developed into a major town during the Dvaravati Kingdom (6th – 11th centuries). Most historians believed the first settlers of the town were the Lawa (an ethnic group related to the Mons) which is the reason for naming the town Lawo. In 10th century, the town came under absolute sovereignty of the Khmers who made it one of their oldest provincial capitals. The Khmer Mahayana Buddhism style was a major influence on the town’s architecture and was later commonly referred to as “Lop Buri Style”. Remains of Khmer–Hindu architectural motifs found in the city include the Shiva’s Shrine (Prang Khaek), San Phra Kan, Phra Prang Sam Yot, and Wat Phra Si Mahathat.

It was in the late 13th century when the Thais, who migrated from the North, fought against the Khmers and declared their independence. Since then, Lop Buri has been ruled by Thai Kings.

Lop Buri first became known when King U-Tong, who established the Ayutthaya Kingdom, sent his son, Ramesuan the Crown Prince, to govern the city. The Prince commanded the building of moats, city walls and battlement towers.

Lop Buri reached its height in 1664 when King Narai the Great of Ayutthaya named Lop Buri the Kingdom’s second capital, which came after a threat of invasion from Hollanders. King Narai the Great rebuilt Lop Buri with the help of French architects and ruled the Kingdom from there, instead of Ayutthaya., Thus the city’s architecture mostly reflected a mixture of Thai and Western styles, which can be seen today in the remains of the Royal Palace, the Royal Reception House etc.

Lop Buri gradually faded from the political scene with the death of King Narai the Great. It, however, made a comeback approximately 200 years later when King Rama IV of the Ratanakosin Era decided to restore the city. He also commanded the restoration of the old Palace and named it “Phra Narai Ratchaniwet” (Narai Ratchaniwet Palace) in honor of King Narai the Great.

After Thailand’s democratic revolution, Marshall Poh Pibulsongkram rebuilt a military camp near the city’s railroad, therefore, dividing the city into the old (ancient) and new zone.

The Present
Today, Lop Buri is administratively divided into 11 Amphoes (Districts) including Muang, Ban Mi, Chai Badan, Khok Charoen, Khok Samrong, Phatthana Nikhom, Tha Luang, Tha Wung, Sa Bot, Lam Sonthi and Nong Muang.

Apart from historical attractions, Lop Buri provides opportunities for nature lovers to visit its famous Sap langka Wildlife Sanctuary in the north.

Another special landmark of Lop Buri is monkeys. To tourists, the city is known as the land of monkeys. To the people of Lop Buri, the monkeys are descendants of Hanuman who, according to the Ramayana, built Lop Buri as his kingdom. The food offerings in San Phra Kan drew the monkeys from nearby forests. These mischievous monkeys have taken over several attractions such as San Phra Kan and Phra Prang Sam Yot. A big feast for the monkeys on the last Sunday of November is held annually at Phra Prang Sam Yot and is one of the most attractive and most talked about tourist events in Thailand.

How to get there
By Car:
From Bangkok: The trip from Bangkok to Lop Buri by car may take up to 2 hours. It is possible to either drive along Highway No.1 via Saraburi (total distance is 153 kilometers), or use Highway No. 32 via Ayutthaya, and travel further along Highway No. 347 to Lop Buri via Tha Ruea District.

By Bus:
From Bangkok: Air-conditioned coaches and non air-conditioned buses leave Bangkok’s Northern Bus Terminal (Mo Chit 2 Bus Terminal) every 20 minutes from 5.30 a.m. until 8.30 p.m. The ticket costs 62 bahts (ordinary bus) and 85 bahts (air-conditioned). The journey takes 3 hours. Call 02 936 2852-66 for more information.

From Ayutthaya: There are buses that leave every 10 minutes from Ayutthaya Bus Terminal to Lop Buri. The price is half of the fare from Bangkok.

Lop Buri can be reached by taking buses from Kanchanaburi (the west), Suphan Buri, Sing Buri, Ang Thong (the central), and Nakhon Ratchasima (the east).

By Train:
From Bangkok: Ordinary northern-route (Bangkok-Chiang Mai) trains leave Bangkok’s Hua Lamphong Railway Station at 7.05 a.m. and 8.30 a.m. Both are third class only. Rapid trains leave the station 5 times a day (Travel time is 2.5 hrs.) For more updated schedules and reservations, call 1690, 0 2223 7010, 0 22237020 or visit www.railway.co.th.

From Ayutthaya: regular 3rd class trains depart Ayutthaya to Lop Buri. Travel time is 1 hour.

Travelling in Lop Buri:
There are plenty of Song thaews running along Wichayen and Phra Narai Maharat Roads connecting the old and new towns. The cost is 5 bahts per person. City buses are also available. It costs 4 bahts per passenger. Sam lors will go anywhere in the old town from 30 – 50 bahts.

Festivals
King Narai Reign Fair
King Narai Reign Fair This fair commemorates the reign of King Narai the Great, the Ayutthayan monarch best known for his promotion of diplomatic relations with European powers during the mid-1600s. The fair is centred at King Narai’s Palace and features processions, a light and sound presentation, folk entertainment and sales of local products.



 ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!! จองโรงแรมในประเทศไทย เมือง ลพบุรี  ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!!
 ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!! Lopburi Inn Hotel
Lopburi Inn Hotel โทรศัพท์, โทรทัศน์ , โทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ , เครื่องปรับอากาศ, บริการอินเทอร์เน็ต (ความเร็วสูง ) โดดเด่นอยู่ท่ามกลางสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ทั้งหลายในห้องพักและยังสามารถพบ ห้องจัดเลี้ยง, ร้านค้า, ห้องประชุม, รถยนต์ให้เช่า, ร้านอาหาร, คอฟฟี่ช็อป, บาร
เพิ่มเติม

 ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!! Lopburi Inn Resort ทุ่งทานตะวันสถานที่ท่องเที่ยวไทยรวมข้อมูลการเดินทางทุ่งทานตะวันชมดอกทานตะวันรับปีใหม่สวยๆที่ทุ่งทานตะวัน!!
Lopburi Inn Resort ด้วยห้องทั้งหมด 100 ห้อง โรงแรมแห่งนี้มีบริการและสิ่งอำนวยความสะดวกทั้งหมดที่ท่านปรารถนาจะได้รับจากโ รงแรมระดับ 3-ดาวห้องพักแต่ละห้องประกอบไปด้วย โทรศัพท์, โทรทัศน์ , โทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ , เครื ่องปรับอากาศ, อินเทอร์เน็ตไร้สาย, บริการอินเทอร์เน็ต (
เพิ่มเติม
ข้อมูลที่มา  www.moohin.com

อัพเดทล่าสุด